หวั่น"10 กันยายน"โลกถึงจุดจบ "เซิร์น"เดินเครื่องสร้างหลุมดำ

ในห้อง 'วิทยาศาสตร์ทางจิต - ลึกลับ' ตั้งกระทู้โดย Catt Bewer, 9 กันยายน 2008.

  1. weirchai

    weirchai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    30 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    393
    ค่าพลัง:
    +1,410
    อย่าไปกลัว เลย พี่น้องเอ๋ย น่าตื่นเต้นจะตาย เป็นโอกาสดีที่มวลมนุษย์ชาติ จะไข้ปริศนาที่ท้าทายตั้งแต่อดีตมาจนปันจุบันได้ แต่ทว่าจะทำสำเร็จหรือไม่ ส่วนเรื่องโลกเราจะกลับเข้ายุคหิน ผมว่าสมัยนี้ไม่น่าจะเป็นไปได้ครับ เพราะพระพุทธเจ้าทรงพยากรณ์แล้ว ไม่ใช่ปี 2000 + แน่นอนครับ ดังนั้นอย่าไปกลัวไม่มีผลกระทบกับเราในตอนนี้ แต่อีกพันปีกว่าอาจจะมีผลกระทบข้างหน้าก็ได้ครับ ดังนั้นไม่เกี่ยวกับเราแน่ ... 555555 ....
     
  2. charter00

    charter00 Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    80
    ค่าพลัง:
    +34
    กลัวไรกันครับ แค่การทดลองเท่านั้น มันไม่ทำให้โลกแตกสลายไปได้หรอก - -
     
  3. Catt Bewer

    Catt Bewer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,768
    ค่าพลัง:
    +16,673
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>
     
  4. Catt Bewer

    Catt Bewer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,768
    ค่าพลัง:
    +16,673
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>รอมากว่า 20 ปี ลำโปรตอนแรกสู่เครื่องเร่งอนุภาคใหญ่ที่สุดในโลกแล้ว</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>10 กันยายน 2551 15:18 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>บีมแรก เดินทางผ่านท่อที่ขดเป็นทางยาว 27 กิโลเมตร ลึกลงไปใต้ดินระหว่างพรมแดนสวิส-ฝรั่งเศส หากการยิงลำแสงครั้งนี้ ลำอนุภาคโปรตอนสามารถเดินทางครบวง ตามทิศทางที่คาดไว้ จะนำไปสู่การยิงอนุภาคชนกันถัดมา</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ภายในห้องควบคุมการทำงานของเครื่องเร่งอนุภาค และเครืองตรวจจับอนุภาค ที่วันนี้เปิดรับผู้สื่อข่าวและนักฟิสิกส์เต็มไปหมด (ภาพจากแฟ้ม / AFP)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>เหล่านักวิทยาศาสตร์ปรบมือแสดงความยินดี ที่ลำแสงแรกได้ยิงเข้าสู่เรื่องเร่งอนุภาค ถือเป็นการตัดริบบิ้นเปิดภารกิจประสาเซิร์น (ภาพ AFP)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=/images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>"เซิร์น" กดปุ่มเดินเครื่องแอลเอชซี ยิงบีมแรก ทดสอบลำอนุภาควิ่งครบรอบ ในห้องทดลองยักษ์ใต้ดิน เปิดประเดิมภารกิจไขปริศนากำเนิดจักรวาล ที่นักฟิสิกส์ตั้งตาคอย

    นับเป็นวันที่หลายคนลุ้นว่า เครื่องเร่งอนุภาคขนาดใหญ่ที่สุดในโลก "แอลเอชซี" (Large Hadron Collider : LHC) ที่องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศในทวีปยุโรปเพื่อวิจัยและพัฒนาทางด้านนิวเคลียร์ (European Center for Nuclear Research) หรือชื่อย่อตามภาษาฝรั่งเศสอันเป็นต้นกำเนิดเดิม นามว่า "เซิร์น" (CERN) กำหนดให้วันที่ 10 ก.ย.51 เป็นเวลาแห่งการเดินเครื่อง เพื่อการทดลองค้นหาคำตอบที่นักฟิสิกส์ตั้งคำถามมายาวนาน

    ณ เดอะโกลบ อันเป็นห้องรับแขกของเซิร์น บริเวณนอกเมืองเจนีวา สวิตเซอร์แลนด์ คึกคักตั้งแต่เช้าตรู่ เพื่อต้อนรับนักข่าวจากทั่วโลก โดยเซิร์นพร้อมเปิดบ้าน ให้ผู้สื่อข่าวเป็นสักขีพยานในการยิงลำแสงแรก ในช่วงเช้าของเวลาทำการ ซึ่งช้ากว่าประเทศไทย 5 ชั่วโมง พร้อมทั้งส่งสัญญาณดาวเทียมสู่สถานีโทรทัศน์ทั่วโลก (หากสถานีใดต้องการ) และยังมีการถ่ายทอดสดผ่านเว็บแคสต์ ให้ได้ชมกันผ่านหน้าจอคอมพิวเตอร์ แต่ดูเหมือนว่าการจราจรบนโลกไซเบอร์จะคับคั่งกว่าที่เซิร์นคาดการณ์ไว้ จึงทำให้หลายๆ พื้นที่ไม่สามารถเข้าชมได้ (รวมถึงทีมงานผู้จัดการวิทยาศาสตร์ด้วย)

    ทั้งนี้ ในเวลา 09.30 น. หรือ 14.30 น. ตามเวลาประเทศไทย ลำโปรตอนลำแรกได้ถูกยิงเข้าสู่เครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซี ซึ่งอาจนับได้ว่าเป็นเครื่องมือทางวิทยาศาสตร์ที่ใหญ่ที่สุด ซับซ้อนที่สุด และมีมูลค่ามากที่สุดในโลก โดยใช้เวลาสร้างนานถึง 20 ปี กว่าจะได้เดินหน้ายิงลำแสงแรกในวันนี้

    เมื่อยิงลำโปรตอนไปแล้ว ต้องรอประมาณ 5 วินาที จึงจะได้ข้อมูลการเดินทางของลำแสง เพื่อวิเคราะห์ต่อไป

    อย่างไรก็ดี ในวันแรกของการเปิดใช้เครื่องเร่งอนุภาค หรือ เฟิร์สต์บีมเดย์ (LHC First Beam Day) ครั้งนี้ จะยังไม่มีการชนกันของลำโปรตอนแต่อย่างใด เป็นแค่เพียงการยิงลำแสง 1 ลำเพื่อตรวจสอบดูว่า ลำโปรตอนสามารถเดินทางได้รอบท่อตามที่คำณวนไว้หรือไม่

    ส่วนการทดลองยิงลำโปรตอนเพื่อชนกันของอนุภาคครั้งแรกนั้น ทางเซิร์นเปิดเผยว่า คงจะอีกหลายสัปดาห์ถัดจากนี้.

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9510000107329</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  5. Catt Bewer

    Catt Bewer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,768
    ค่าพลัง:
    +16,673
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>Special : "เซิร์น" กับปฏิบัติการค้นหาต้นตอจักรวาล </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>10 กันยายน 2551 15:59 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=600 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=600>[​IMG] </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> องค์กรความร่วมมือระหว่างประเทศในทวีปยุโรปเพื่อวิจัยและพัฒนาทางด้านนิวเคลียร์ (European Center for Nuclear Research) หรือชื่อย่อตามภาษาฝรั่งเศสอันเป็นต้นกำเนิดเดิม นามว่า "เซิร์น" (CERN) เป็นที่รู้จักกันดีในหมู่นักวิทยาศาสตร์ โดยมีชื่อเสียงขึ้นมาเมื่อปี 2543 ในฐานะผู้ก่อกำเนิด "เวริล์ด ไวด์ เว็บ" (WWW) และเซิร์นก็กลายเป็นที่คุ้นหูอีกครั้ง เมื่อ "แดน บราวน์" ใช้องค์กรแห่งนี้ เป็นส่วนหนึ่งของนิยายเรื่อง "เทวากับซาตาน" (Angles and Demons)

    งานหลักของเซิร์น ณ ปัจจุบันนี้ คือ โครงการเครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซี (Large Hadron Collider: LHC) ขนาดใหญ่ที่สุดในโลก ซึ่งอยู่ใต้พื้นแผ่นดินสวิส-ฝรั่งเศส เพื่อค้นหาว่า "จักรวาลประกอบขึ้นจากอะไร"

    ทั้งนี้ ทีมข่าวผู้จัดการออนไลน์ได้ติดตาม ความเคลื่อนไหว และรายงานเรื่องราวเกี่ยวกับเซิร์น โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ที่มาที่ไป สิ่งที่เซิร์นกำลังค้นหา นำไปสู่อะไร และอย่างไร อันตรายแค่ไหน ซึ่งได้รวบรวมเป็นรายงานชิ้นใหญ่...ติดตามอ่านได้ที่... เซิร์น : การทดลองสุดยิ่งใหญ่ของมวลมนุษย์ ค้นหาจุดเล็กสุดสู่กำเนิดจักรวาล

    ส่วนรายงานข่าวเหตุการณ์อื่นๆ เกี่ยวกับ "เซิร์น" และการค้นหาอนุภาคแห่งพระเจ้า ติดตามได้ตามลิงค์ด้านล่าง

    - รอมากว่า 20 ปี ลำโปรตอนแรกสู่เครื่องเร่งอนุภาคใหญ่ที่สุดในโลกแล้ว
    - อย่าห่วง ! โลกไม่สลายแน่ "เซิร์น" แค่อุ่นเครื่อง ยังเร่งไม่เต็มพิกัด
    - เครื่องพร้อม-คนพร้อม "เซิร์น" พร้อมยิงแสงแรก 10 ก.ย.
    -
     
  6. โอซารัน

    โอซารัน Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มกราคม 2008
    โพสต์:
    873
    ค่าพลัง:
    +91
    ผลเปนไงบ้างครับ

    ตอนนี้เลยเวลาปล่อยมาเยอะแล้ว

    สงสัยผมจะพลาดซะและ
     
  7. O๐.AnGle.๐O

    O๐.AnGle.๐O เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 ธันวาคม 2007
    โพสต์:
    974
    ค่าพลัง:
    +861
    ยิง ไป ตอน 2 โมง อ่ะครับ

    ตอนนี้เป็นไงบ้าง...
     
  8. bumbimnick

    bumbimnick เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    115
    ค่าพลัง:
    +160
    โอวๆๆๆๆ
    ตื่นเต้นๆ
    อ่านข้อความพี่สันโดษแล้ว ชอบๆๆๆ
    มีหลักการดีค่ะ
    อิอิ
    นี่ก็เลยเวลาแระ ไหนว่าโลกจะถูกกลืนง่า
    เหอๆๆๆๆ
     
  9. Siamese Wizard

    Siamese Wizard Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    402
    ค่าพลัง:
    +42
    วันนี้เดินเครื่องแล้วนี่นา เกิดไรขึ้นบ้างเนี่ยยย
     
  10. RuneChaos

    RuneChaos สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 มีนาคม 2008
    โพสต์:
    75
    ค่าพลัง:
    +12
    ต่อให้โลกแตกดับไปก็ช่างมันปะไร!!!

    ถ้ายังมีกิเลส ก็วางใจได้เลย ว่าต้องมีภพภูมิไว้ให้สถิต

    เอกภพมิใช่เล็กๆ จักรวารอื่นก็มีสิ่งมีชีวิตที่เรายังไม่อาจเอื้อมไปถึง จะคิดมากไปทำไม กับแค่การทดลองบ้าๆของคนที่แสวงหาคุณค่าแค่ด้านวัตถุ
     
  11. อย่ากด อนุโมทนา

    อย่ากด อนุโมทนา สมาชิกใหม่

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 สิงหาคม 2008
    โพสต์:
    113
    ค่าพลัง:
    +3

    สตีเฟ่น ฮอคกิ้น นักวิทยาศาสตร์อันดับหนึ่งผู้เป็นอัมพาตทั้งตัว ก็แสดงความคิดเห็นไว้ว่า การทดลองนี้มนุษย์จะไม่ได้พบสสารแห่งพระเจ้า . . . แน่นอน
    โฮะๆๆ
     
  12. pakung

    pakung เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,625
    ค่าพลัง:
    +429
    ว้าววววววววววววววว



    ยังไม่อยากตายยยยยยยยยยยยยยยย






    อิอิ เอิ๊กกกกกกกกกกก




    แต่เขาทดลองดี เขาน่าจะได้คำตอบ ที่ยิ่งใหญ่ก้อได้นะ
     
  13. pakung

    pakung เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,625
    ค่าพลัง:
    +429
    ถ้าเขาตอบได้ จะมรใครเชื่อไหมหนออออออออออออ
     
  14. pakung

    pakung เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    1,625
    ค่าพลัง:
    +429
    ไอสไตน์ ใกล้ตายตาหลับแล้วสินะครับ

    ขอบคุณนะครับ ชอบอ่านเรื่องพวกนี้มากเลย ตั้งแต่อ่าน

    เหนือมิติที่ 4 ของไอสไตน์ กับจักรวาลในเปลือกนัท จบ

    ถ้าคิดค้นสำเร็จละก็โลกเราคงต้องมีการปฏิวัติวิทยาศาสตรืครั้งใหญ่เลยสิครับ

    แบบแผนการเรียนคงต้องเริ่มรื้อกันใหม่ วุ่นวายดี 55


    สาธุ ขอให้เจอ เทคิออน อยากนั่งไทม์แมชชีนก่อนตาย เหอะๆ

    ข้อความของคุณ

    ขอบพระคุณอย่าสูง

    -::EARTH::-

    http://www.sudipan.net/phpBB2/viewtopic.php?p=37945
     
  15. หล่อลากดิน

    หล่อลากดิน เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    1,202
    ค่าพลัง:
    +235
    เรื่องของเซิร์น มีใครตาย บ้างยกมือ
    นี่หน่ะหรือ คือปัญญา ที่มีไว้
    ฟังไว้บ้าง ก็ไม่มี ใครว่าไร
    แต่ตกใจ พร่ำเพ้อว่า ฟ้าถล่มเอยฯ

    กระต่าย ....
     
  16. OrangeHP

    OrangeHP เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 กันยายน 2007
    โพสต์:
    148
    ค่าพลัง:
    +160
    ช่อง TPBS ออกวันนี้ครับ
     
  17. Catt Bewer

    Catt Bewer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,768
    ค่าพลัง:
    +16,673
    เซิร์น" อุ่นเครื่องผ่านฉลุย อีกหลายเดือนกว่าจะจับอนุภาคชนกัน<TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>11 กันยายน 2551 03:58 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=bottom align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD><TD><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=center align=middle width=1 background=/images/linedot_vert.gif>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=right width=1 height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle background=/images/linedot_hori.gif height=1>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=1 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>นักฟิสิกส์กำลังตรวจสอบการทำงานของระบบอย่างขมักเขม้น โดยในจอมอนิเตอร์คือภาพจำลองอุโมงค์ทดลองขนาดยักษ์ เปิดโหมดไฟเขียวตามจุดต่างๆ เพื่อบังคับให้ลำโปรตอนผ่านไปได้ ตามทิศทางที่กำหนดไว้ ก่อนจะทดลองจริงในอีกไม่กี่เดือนข้างหน้า (ภาพ CERN)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=bottom align=left height=12>[​IMG]</TD></TR><TR><TD bgColor=#cccccc><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle bgColor=#ffffff><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%"><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=160><TABLE cellSpacing=4 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=middle>คลิกที่ภาพเพื่อดูขนาดใหญ่ขึ้น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>เจ้าหน้าที่ตรวจตราตามสถานีต่างๆ ผ่านคอมพิวเตอร์ ถ้าแถบเครื่องมือต่างๆ ยังแสดงค่าออกมาเป็นสีเขียว ก็โล่งใจได้ (ภาพ CERN)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ช่วยกันลุ้น ทั้งแขกรับเชิญ ผู้เกี่ยวข้องกับเซิร์นตั้งแต่อดีตกระทั่งปัจจุบัน รวมถึงสื่อมวลชนที่มาเฝ้าสังเกตการณ์อย่างคับคั่ง (ภาพ CERN)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ห้องสังเกตการณ์ สำหรับสื่อมวลชนที่ต้องการเรื่องเทคนิคเน้นๆ (ภาพ CERN)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>ติดป้ายให้เห็นๆ ว่านี่เป็นวันแรกของลำแสงที่จะผ่านเครื่อง LHC (ภาพ CERN)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=baseline align=middle>แผนผังเส้นทางห้องทดลองใต้ดิน ส่วนด้านล่างเป็นภาพตัดขวาง ให้เห็นลักษณะทางภูมิศาสตร์ (ภาพ CERN)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=165 height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD width=4 background=/images/linedot_vert3.gif>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=7 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>
     
  18. Catt Bewer

    Catt Bewer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,768
    ค่าพลัง:
    +16,673
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=headline vAlign=baseline align=left>เผยภาพบันทึกอนุภาคแรก ในท่อทดลองจากเซิร์น</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD bgColor=#cccccc height=1>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left>โดย ผู้จัดการออนไลน์</TD><TD class=date vAlign=baseline align=left>10 กันยายน 2551 18:31 น.</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=4 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD class=body vAlign=baseline align=left><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=500>[​IMG] </TD></TR><TR><TD class=Image vAlign=baseline align=left>อนุภาคชนเลนส์ขณะบินผ่านเครื่องตรวจวัดซีเอ็มเอส (ภาพจาก CMS/Nature)</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle height=5>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE> ที่สถานีตรวจวัดอนุภาคซีเอ็มเอส (CMS : Compact Muon Solenoid) ได้โชว์ภาพแรกหลังจากยิงลำโปรตอนแรก สู่เครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซีออกมา ซึ่งภาพดังกล่าวเป็นอนุภาคจำนวนหนึ่ง ที่กำลังบินทะลุเครื่องตรวจวัดอนุภาค

    อีกทั้งที่เห็นเหมือนเป็นการปะทะกันนั้น ไม่ใช่ลำแสงชนกันแต่อย่างใด แต่เป็นลำแสงที่พุ่งชนเลนส์ของกล้องขนาดเล็ก ที่บันทึกเหตุการณ์ภายในท่อทดลอง บริเวณซีเอ็มเอส

    ทว่าจิม ฟีร์ดี (Jim Virdee) โฆษกของซีเอ็มเอสบอกว่า ภาพที่บันทึกได้นี้ มีนอยซ์หรือจุดสีรบกวน มากกว่าที่คาดไว้เล็กน้อย แต่ก็หวังว่า เมื่อเวลาที่โปรตอนชนกันจริงๆ ภาพน่าจะคมชัดกว่านี้

    ทั้งนี้ สถานีตรวจวัดอนุภาคในโครงการเครื่องเร่งอนุภาคแอลเอชซี (Large Hadron Collider: LHC) ประกอบด้วยสถานี 4 แห่งด้วยกัน คือ 1.สถานีอลิซ (ALICE) วัดสถานะพลาสมาควาร์ก-กลูออน (quark-gluon plasma) 2.สถานีแอตลาส (ATLAS) ตรวจหาอนุภาคฮิกก์ส มิติพิเศษ (extra dimension) และอนุภาคที่อาจก่อตัวขึ้นเป็นสสารมืด (dark matter) 3.สถานีซีเอ็มเอส (CMS) เป็นเครื่องตรวจวัดอนุภาคที่มีเป้าหมายเดียวกับแอตลาส และ 4.สถานีแอลเอชซีบี (LHCb) มีหน้าที่พิเศษในการศึกษาอนุภาคที่เรียกว่า "บิวตี ควาร์ก" (beauty quark) เพื่อสังเกตความแตกต่างเพียงเล็กน้อยระหว่างสสารและปฏิสสาร.

    </TD></TR></TBODY></TABLE>http://www.manager.co.th/Science/ViewNews.aspx?NewsID=9510000107465</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  19. neo1982

    neo1982 สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    54
    ค่าพลัง:
    +17
    ท่าน พระไตรภพ ครับ ท่านเขียนหนังสือผิดๆถูกๆ ชวนให้อ่านแล้ว ขัดใจยิ่งนัก หวังว่าในภายหน้า คงแก้ไขปรับปรุงให้ดีขึ้นนะขอรับ
     
  20. karain

    karain เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 กันยายน 2006
    โพสต์:
    639
    ค่าพลัง:
    +707
    อะไรจะเกิดมันก้อต้องเกิดล่ะครับคราวนี้
     

แชร์หน้านี้

Loading...