!!! จับตาพายุลูกใหม่ ที่กำลังก่อตัว ณ ขณะนี้ !!!

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 25 มกราคม 2007.

  1. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Tropical Storm MOLAVE (07W) #09 : ประกาศเรื่อง “พายุโซนร้อน โมลาเว (07W)” ฉบับที่ 9
    Tropical Storm MOLAVE (07W) #09 : ประกาศเรื่อง “พายุโซนร้อน โมลาเว (07W)” ฉบับที่ 9
    ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น ฮาวาย, สหรัฐฯ (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    สภาวะโดยทั่วไปของพายุหมุนเขตร้อนเมื่อเวลา 13.00น.
    ประจำวันที่ 17 กรกฎาคม 2552 ออกประกาศเวลา 16.00 น. ตามเวลาประเทศไทย

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ ทะเลจีนใต้ และอ่าวไทย วันที่ 17 กรกฎาคม 2552 /15.00 น. ปรากฎพายุหมุนเขตร้อน 1 ลูก / หย่อมความกดอากาศต่ำ 1 ลูก
    1)Tropical Storm MOLAVE (07W,19.5N 122.5E,45kts): เมื่อเวลา 13.00น.วันนี้(17ก.ค.52) พายุโซนร้อน MOLAVE (โมลาเว/07W) มีศูนย์กลางปกคลุมหัวเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ ศูนย์กลางพายุ อยู่ที่ละติจูด 19.5 องศาเหนือ ลองจิจูด 122.5 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจากกรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ห่ างประมาณ 565 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 10 นอต(19 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 45 นอต(83 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 989 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ 4 เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดพายุโซนร้อน MOLAVE (โมลาเว/07W) จะมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือต่อไปอีก 12-24 ชั่วโมงข้างหน้า คาดว่าจะทวีความรุนแรงขึ้นเป็นไต้ฝุ่นในอีก 12 ชั่วโมงข้างหรือช่วงประมาณ 01.00น.พรุ่งนี้(18ก.ค.52)เป็นต้นไป ก่อนที่ศูนย์กลางพายุจะมุ่งหน้าไปยังมณฑลกวางตุ้ง และเกาะฮ่องกงในอีก 36 ชั่วโมงข้างหน้าหรือช่วงประมาณ 01.00น.(19ก.ค.52) เป็นต้นไป : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    2)Tropical Disturbance 95W (12.3N 133.1E,15kts): เมื่อเวลา 13.00น.วันนี้(17ก.ค.52) หย่อมความกดอากาศต่ำ 95W มีศูนย์กลางปกคลุมทะเลแปซิฟิค หรือด้านตะวันออกของฟิลิปินส์ อยู่ที่ละติจูด 12.3 องศาเหนือ ลองจิจูด 133.1 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกจากกรุงมะนิลา ห่ างประมาณ - กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือเล็กด้วยความเร็ว 10 นอต(19 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 15 นอต(28 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 1010 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ - เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดหย่อมความกดอากาศต่ำ 95W จะยังคงมีทิศทางเคลื่อนตัวไปทางตะวันตกค่อนทางเหนือต่อไป 24 ชั่วโมงข้างหน้า ยังไม่มีแนวโน้มที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนใน 48-72 ชั่วโมงนี้ หรือช่วง 19-20ก.ค.52 : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    <เพิ่มเติม/ความเห็น> พายุ โซนร้อน MOLAVE (โมลาเว/07W) ไม่มีแนวโน้มเคลื่อนตัวเข้าสู่ไทย / สำหรับบริเวณวงสีเขียว คือบริเวณความกดอากาศต่ำที่มีแนวโน้มที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนในอนาคต
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม INFRARED ทุกๆ 1 ชม.
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 100-150 องศาตะวันออก)
    [​IMG]
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 140-180 องศาตะวันออก)
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรเเปซิฟิคตอนเหนือด้านตะวันตก ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณประเทศญี่ปุ่น ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายแบบเต็ม ทุกๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/globe/2048x2048/ir.jpgCLICK เพื่อดูภาพขนาดใหญ่
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/animation/MPEG-2/last-120h.mpgCLICK เพื่อดูภาพถ่ายดาวเทียมเคลื่อนไหว 120 ชั่วโมงที่ผ่านมา หรือ เมื่อ 5 วันที่ผ่านมา UPDATE ทุกๆ 1 ชั่วโมง

    *******

    ภาพการคาดหมายเส้นทางการเดินพายุ ล่วงหน้า 5 วัน ทุกๆ 6 ชม.
    บริเวณพื้นที่ตาข่ายสีดำ รูปกรวย(โคน) แสดงถึง ความไม่แน่นอน/ความเป็นไปได้ที่จะได้รับผลกระทบหรือศูนย์กลางพายุอาจจะพัดผ่าน
    ***เครื่องของท่านอาจไม่ปรากฏภาพดังกล่าว ให้ CLICK ขวา > Show Picture***
    ที่มา Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC *ต้นฉบับ*
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    CIMSS Tropical Cyclones
    http://www.solar.ifa.hawaii.edu/Tropical/Gif/nwp.latest.gif
     
  2. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Situation Update No. 4
    Posted:2009-07-05, 03:38:29 [UTC]
    Ref.no.: ST-20090705-22237-VNM

    Situation Update No. 4
    <small>On 2009-07-18 at 07:58:33 [UTC]</small>

    Event: Extreme Weather
    Location: Vietnam MultiProvinces Central Highlands and Norther regios

    Number of Deads: 40 person(s)
    Number of Missing: 2 person(s)
    Number of Evacuated: 300 person(s)

    Situation

    Five people were swept away by floods in the Central Highlands and heavy rainfall continued to hit the northern region as authorities prepared for the fifth tropical storm poised to hit Vietnam this year. As of Friday evening, rescue agencies had not been able to find four men and a woman missing since Thursday after their car had been caught by floods in Lam Dong Province. The missing men are workers and officials of the CAVICO VN construction company, which is building the Dam B’ri hydropower plant in Lam Dong’s Bao Lam District, while authorities have yet to identify the woman, known only as Oanh. Ha Mau Long, the only survivor from the car, told authorities that when sudden flooding on the Dam Br’i Stream hit the car, he and two other men jumped out to escape but only Long could reach the shore. The National Hydrometeorology Forecasting Center (NHFC) said Friday the low pressure, which has caused downpours and whirlwinds in the northern region for the past several days, have moved deep to the Northwestern area. The pressure caused heavy rains Friday all over the North and the north-central provinces of Thanh Hoa and Nghe An, resulting in flooding and hours-long traffic jams in Hanoi, authorities said. The center predicted rains would continue in the North today and tomorrow. Authorities, meanwhile, are preparing to deal with tropical storm Molave, which developed from a depression off the Philippines’ Luzon Island Thursday and is moving toward the East Sea. The Central Steering Committee for Flood Control Friday asked local authorities and flood control agencies of coastal provinces and cities stretching from Quang Ninh to Quang Ngai to monitor fishing vessels, issue warnings and supply information about the storm to offshore ships.

    The committee also asked concerned agencies to keep close watch on the storm and prepare to launch rescue efforts at short notice. The Ministry of Health on Friday also asked local medical centers to take preventive measures against disasters and relocate patients, medical personnel and facilities if needed. The ministry also directed agencies to be prepared to receive and treat emergency cases. The NHFC said Molave was moving northwestward at a speed of 20 kilometers per hour. As of 4 p.m. today, the eye of the storm is expected to be 410 kilometers from the east of Hong Kong with gusts of wind blowing at 89-117 kilometers per hour. The center said the storm will affect the East Sea’s northeast region, causing very rough seas with five to seven-meter-high waves. The storm will also cause rough seas in the middle and southern regions, generating high-speed winds in the waters off the coastal stretch between Binh Thuan to Ca Mau provinces. Molave brought heavy rains and floods Friday to Manila and other areas in north Philippines, grounding airplanes and making the authorities suspend work in government offices and close schools, Xinhua cited local media as saying. Fifteen domestic flights were canceled at the Ninoy Aquino International Airport while the presidential palace announced the suspension of work on Friday in government offices. Tropical storm Soudelor hit northern Vietnam on Sunday July 12, causing heavy floods triggered by downpours and thunderstorms. Lightning strikes killed two people in the region. Floods and storms frequently strike Vietnam between July and October. So far this year 80 people have already been listed as dead or missing from natural disasters.
     
  3. kikinlala

    kikinlala เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    4,939
    ค่าพลัง:
    +8,843
    วันที่๒๐ ยังมีพายุไหมคะ?
     
  4. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <table width="600" bgcolor="white" border="1" bordercolor="blue" cellpadding="5" cellspacing="0"><tbody><tr><td align="center" bgcolor="blue"> Typhoon MOLAVE (07W) Category 1 #15 : ประกาศเรื่อง “พายุไต้ฝุ่น โมลาเว (07W) พายุระดับ 1” ฉบับที่ 1 </td></tr> <tr><td>
    <table width="590" align="center" border="0"> <tbody><tr><td> Typhoon MOLAVE (07W) Category 1 #15 : ประกาศเรื่อง “พายุไต้ฝุ่น โมลาเว (07W) พายุระดับ 1” ฉบับที่ 15
    ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น ฮาวาย, สหรัฐฯ (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    สภาวะโดยทั่วไปของพายุหมุนเขตร้อนเมื่อเวลา 01.00น.
    ประจำวันที่ 19 กรกฎาคม 2552 ออกประกาศเวลา 04.00 น. ตามเวลาประเทศไทย

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ ทะเลจีนใต้ และอ่าวไทย วันที่ 18 กรกฎาคม 2552 /19.30 น. ปรากฎพายุหมุนเขตร้อน 1 ลูก / หย่อมความกดอากาศต่ำ 2 ลูก
    1)Typhoon MOLAVE (07W,22.3N 115.9E,65kts,Cat1): เมื่อเวลา 19.00น.วานนี้(18ก.ค.52) พายุโซนร้อน MOLAVE (โมลาเว/07W) มีศูนย์กลางปกคลุมชายฝั่งประเทศจีนตอนใต้ ได้ทวีความรุนแรงเป็นไต้ฝุ่นระดับ 1 แล้ว ที่ละติจูด 22.3 องศาเหนือ ลองจิจูด 115.9 องศาตะวันออก ล่าสุดได้เคลื่อนตัวเข้าสู่ชายฝั่งมณฑลกวางตุ้ง ประเทศจีน และเกาะฮ่องกง ศูนย์กลางพายุ อยู่ที่ละติจูด 22.5 องศาเหนือ ลองจิจูด 114.0 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกจากาฮ่องกง ห่ างประมาณ 50 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเหนือ 18 นอต(33 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 60 นอต(111 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 985 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ 6 เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดพายุ MOLAVE (โมลาเว/07W) จะเริ่มมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือในอีก 12-24 ชั่วโมงข้างหน้า คาดว่าจะเคลื่อนตัวผ่านจากฮ่องกงในอีก 6-12 ชั่วโมงข้างหน้า ก่อนที่พายุจะอ่อนกำลังลงตามลำดับ : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    2)Tropical Disturbance 95W (12.6N 131.1E,15kts): เมื่อเวลา 01.00น.วันนี้(19ก.ค.52) หย่อมความกดอากาศต่ำ 95W มีศูนย์กลางปกคลุมทะเลแปซิฟิค หรือด้านตะวันออกของฟิลิปินส์ อยู่ที่ละติจูด 12.6 องศาเหนือ ลองจิจูด 133.1 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกจากกรุงมะนิลา ห่ างประมาณ - กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือเล็กด้วยความเร็ว 5 นอต(9 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมาอย่างช้า . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 15 นอต(28 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 1010 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ - เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดหย่อมความกดอากาศต่ำ 95W จะยังคงมีทิศทางเคลื่อนตัวไปทางตะวันตกค่อนทางเหนือต่อไป 24 ชั่วโมงข้างหน้า ยังไม่มีแนวโน้มที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนใน 48-72 ชั่วโมงนี้ หรือช่วง 21-22ก.ค.52 : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    3)Tropical Disturbance 96W (24.2N 155.4E,15kts): เมื่อเวลา 01.00น.วันนี้(19ก.ค.52) หย่อมความกดอากาศต่ำ 96W มีศูนย์กลางปกคลุมกลางทะเลแปซิฟิคตอนบน หรือด้านตะวันออกเฉียงใต้จากประเทศญี่ปุ่น อยู่ที่ละติจูด 24.2 องศาเหนือ ลองจิจูด 155.4 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกจากกรุงโตเกียว ประเทศญี่ปุ่น ห่ างประมาณ - กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือเล็กด้วยความเร็ว 5 นอต(9 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมาอย่างช้า . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 15 นอต(28 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 1010 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ - เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดหย่อมความกดอากาศต่ำ 96W จะยังคงมีทิศทางเคลื่อนตัวไปทางตะวันตกค่อนทางเหนือต่อไป 24 ชั่วโมงข้างหน้า ยังไม่มีแนวโน้มที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนใน 48-72 ชั่วโมงนี้ หรือช่วง 21-22ก.ค.52 : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    <เพิ่มเติม/ความเห็น> พายุ MOLAVE (โมลาเว/07W) ไม่มีแนวโน้มเคลื่อนตัวเข้าสู่ไทย แต่จะส่งผลกระทบต่อประเทศไทยไม่มากนัก / สำหรับบริเวณวงสีเขียว คือบริเวณความกดอากาศต่ำที่มีแนวโน้มที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนในอนาคต / ข่าวในประเทศไทยก็แปลกนะครับ ทีพายุเฮอร์ริเคน คาร์ลอส(CARLOS) ออกกันนัก ออกข่าวกันล่วงหน้าทุกช่องเลย อย่าว่าแต่ไม่มีอิทธิพลต่อไทยเลยซึ่งพายุอยู่***งไกล จากไทยมากเหลือเกิน และก็ไม่มีอิทธิพลต่อประเทศใดๆด้วย ก็ออกข่าวกัน แต่กับพายุไต้ฝุ้น โมลาเว(MOLAVE) ซึ่งเป็นพายุที่จัดได้ว่ารุนแรง อยู่ใกล้ไทยด้วย และก็มีแนวโน้มเข้าประเทศสำคัญๆอย่างจีน และฮ่องกงด้วย(ซึ่งขณะนี้ได้เข้าแล้ว) แต่กลับไม่ออกข่าวล่วงหน้ากันเลย เตือนกันเลย และข่าวของไทยก็เป็นอย่างนี้มานานแล้วคือให้ความสำคัญกับพายุเฮอร์ริเคนใน ต่างประเทศมากกว่าพายุไต้ฝุ่นในบ้านเรา ซึ่งแท้ที่จริงเรามีโอกาสได้จะรับอิทธิพลได้ ทั้งหมดนี้ “ต้นเหตุ” มันเกิดจากอะไรครับ ? (เอาไปคิดกันต่อ)
    http://www.oknation.net/blog/home/album_data/580/25580/album/35268/images/315328.jpg

    ภาพถ่ายดาวเทียม INFRARED ทุกๆ 1 ชม.
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 100-150 องศาตะวันออก)
    [​IMG]
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 140-180 องศาตะวันออก)
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรเเปซิฟิคตอนเหนือด้านตะวันตก ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณประเทศญี่ปุ่น ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายแบบเต็ม ทุกๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/globe/2048x2048/ir.jpgCLICK เพื่อดูภาพขนาดใหญ่
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/animation/MPEG-2/last-120h.mpgCLICK เพื่อดูภาพถ่ายดาวเทียมเคลื่อนไหว 120 ชั่วโมงที่ผ่านมา หรือ เมื่อ 5 วันที่ผ่านมา UPDATE ทุกๆ 1 ชั่วโมง

    *******

    ภาพการคาดหมายเส้นทางการเดินพายุ ล่วงหน้า 5 วัน ทุกๆ 6 ชม.
    บริเวณพื้นที่ตาข่ายสีดำ รูปกรวย(โคน) แสดงถึง ความไม่แน่นอน/ความเป็นไปได้ที่จะได้รับผลกระทบหรือศูนย์กลางพายุอาจจะพัดผ่าน
    ***เครื่องของท่านอาจไม่ปรากฏภาพดังกล่าว ให้ CLICK ขวา > Show Picture***
    ที่มา Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC *ต้นฉบับ*
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    CIMSS Tropical Cyclones
    http://www.solar.ifa.hawaii.edu/Tropical/Gif/nwp.latest.gif
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  5. LuckyFriday

    LuckyFriday เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    221
    ค่าพลัง:
    +1,153
    <TABLE class=CHANNEL cellSpacing=1><TBODY><TR><TH>MTSAT-1R (IR1)</TH><TH>MTSAT-1R (IR2)</TH></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TH>MTSAT-1R (IR3)</TH><TH>MTSAT-1R (IR4)</TH></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    ภาพแผนที่แสดงเส้นทางเดินของพายุบริเวณ North West Pacific
    [​IMG]
    <HR width=1000>
    ภาพแผนที่แสดงเส้นทางเดินของพายุบริเวณ North Indian
    [​IMG]
    <HR width=1000>
    ภาพแผนที่แสดงเส้นทางเดินของพายุบริเวณ South West Pacific (Australia)
    [​IMG]
    <HR width=1000>
    ภาพแผนที่แสดงเส้นทางเดินของพายุบริเวณ Atlantic Ocean
    [​IMG]
    <HR width=1000>
    Global Sea Surface Temperatures.
    [​IMG]
    <HR width=1000>
    ภาพแผนที่แสดงความกดอากาศโดยกรมอุตุนิยมวิทยา
    [​IMG]

    ภาคเหนือระวังงานเข้านะครับ​
     
  6. LuckyFriday

    LuckyFriday เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    221
    ค่าพลัง:
    +1,153
    สถานะการณ์ล่าสุด
    ปีนี้อย่าประมาทนะครับ
    อุณหภูมน้ำทะเลรอบๆประเทสไทยออกจะแปลกๆ
    ติดตามข่าว และ ภาพถ่ายดาวเทียมอย่างใกล้ชิด
    ปัจจัยตัวแปรมีเยอะ
    ไม่เกิดอะไรขึ้นก็ดีไป
    พายุก้อเหมือนบอลลูกกลมๆอะไรก็เกิดขึ้นได้

    การวิเคราะห์ของท่าน TC-93W
    Tropical Cyclone Formation Alert 93W : “ประกาศเตือนภัยพายุหมุนเขตร้อน 93W”
    ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น ฮาวาย, สหรัฐฯ (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    สภาวะโดยทั่วไปของพายุหมุนเขตร้อนเมื่อเวลา 07.00น.
    ประจำวันที่ 01 สิงหาคม 2552 ออกประกาศเวลา 10.00 น. ตามเวลาประเทศไทย
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ ทะเลจีนใต้ และอ่าวไทย วันที่ 01 สิงหาคม 2552 /08.30 น. ปรากฎพายุหมุนเขตร้อน 0 ลูก / หย่อมความกดอากาศต่ำ 3 ลูก
    1)Tropical Cyclone Formation Alert 93W (16.0N 125.9E,15-20kts):
    เมื่อเวลา 07.00น.วันนี้(01ส.ค.52) หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง 93W มีศูนย์กลางปกคลุมทะเลฟิลิปินส์ อยู่ที่ละติจูด 16.0 องศาเหนือ ลองจิจูด 125.9 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจากกรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปินส์ ห่ างประมาณ 556 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเหนือ 20 นอต(37 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 15-20 นอต(28-37 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ996- มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ - เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดหย่อมความกดกาศต่ำกำลังแรง จะเริ่มมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางเหนือมากขึ้น มีแนวโน้มที่จะเคลื่อนตัวเข้าสู่หัวเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปินส์ ใน 24 ชัว้โมงข้างหน้านี้ : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    2)Tropical Disturbance 95W (18.0N 147.0E,15kts):
    เมื่อเวลา 07.00น.วันนี้(01ส.ค.52) หย่อมความกดอากาศต่ำ 95W มีศูนย์กลางปกคลุมกลางทะเลแปซิฟิค อยู่ที่ละติจูด 18.0 องศาเหนือ ลองจิจูด 147.0 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจากเกาะไซปัน ห่ างประมาณ 222 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศเหนือค่อนตะวันตกเล็กด้วยความเร็ว 10 นอต(19 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 15 นอต(28 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 1010 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ - เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดหย่อมความกดอากาศต่ำ 95W จะยังคงมีทิศทางเคลื่อนตัวไปทางเหนือโดยส่วนใหญ่ต่อไป 24 ชั่วโมงข้างหน้า แต่ยังไม่มีแนวโน้มที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนใน 48-72 ชั่วโมงนี้ หรือช่วง 03-04ส.ค.52 : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    3)Tropical Disturbance 97W (10.0N 150.0E,15kts):
    เมื่อเวลา 07.00น.วันนี้(01ส.ค.52) หย่อมความกดอากาศต่ำ 97W มีศูนย์กลางปกคลุมแถบหมู่เกาะไมโครนีเซีย อยู่ที่ละติจูด 10.0 องศาเหนือ ลองจิจูด 150.0 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จากเกาะกวม ห่ างประมาณ - กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกด้วยความเร็ว 10 นอต(19 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 15 นอต(28 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 1010 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ - เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดหย่อมความกดอากาศต่ำ 97W จะยังคงมีทิศทางเคลื่อนตัวไปทางตะวันตกโดยส่วนใหญ่ 24 ชั่วโมงข้างหน้า ยังไม่มีแนวโน้มที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนใน 48-72 ชั่วโมงนี้ หรือช่วง 22-23ก.ค.52 : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    <เพิ่มเติม/ความเห็น> พายุทั้งหมดยังไมมีแนวโน้มเคลื่อนตัวเข้าสู่ไทย


    <TABLE class=CHANNEL cellSpacing=1><TBODY><TR><TH>MTSAT-1R (IR1)</TH><TH>MTSAT-1R (IR2)</TH></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TH>MTSAT-1R (IR3)</TH><TH>MTSAT-1R (IR4)</TH></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    ภาพแผนที่แสดงเส้นทางเดินของพายุบริเวณ North West Pacific
    [​IMG]
    <HR width=1000>
    ภาพแผนที่แสดงเส้นทางเดินของพายุบริเวณ North Indian
    [​IMG]
    <HR width=1000>
    ภาพแผนที่แสดงเส้นทางเดินของพายุบริเวณ South West Pacific (Australia)
    [​IMG]
    <HR width=1000>
    ภาพแผนที่แสดงเส้นทางเดินของพายุบริเวณ Atlantic Ocean
    [​IMG]
    <HR width=1000>
    Global Sea Surface Temperatures.
    [​IMG]
    <HR width=1000>
    ภาพแผนที่แสดงความกดอากาศโดยกรมอุตุนิยมวิทยา
    [​IMG]
     
  7. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Tropical Depression 08W #02 : ประกาศเรื่อง “พายุดีเปรสชัน 08W” ฉบับที่ 2
    Tropical Depression 08W #02 : ประกาศเรื่อง “พายุดีเปรสชัน 08W” ฉบับที่ 2
    ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น ฮาวาย, สหรัฐฯ (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    สภาวะโดยทั่วไปของพายุหมุนเขตร้อนเมื่อเวลา 07.00น.
    ประจำวันที่ 03 สิงหาคม 2552 ออกประกาศเวลา 10.00 น. ตามเวลาประเทศไทย

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ ทะเลจีนใต้ และอ่าวไทย วันที่ 03 สิงหาคม 2552 /07.30 น. ปรากฎพายุหมุนเขตร้อน 1 ลูก / หย่อมความกดอากาศต่ำ 1 ลูก
    1)Tropical Depression 08W (18.7N 116.0E,30kts): เมื่อเวลา 01.00น.วันนี้(03ส.ค.52) หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง 93W มีศูนย์กลางปกคลุมทะเลจีนใต้ตอนบน ได้พัฒนาเป็นดีเปรสชันเขตร้อนแล้ว ล่าสุดเมื่อเวลา ดีเปรสชันลูกนี้ อยู่ที่ละติจูด 18.7 องศาเหนือ ลองจิจูด 116.0องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จากเกาะฮ่องกง ห่ างประมาณ 463 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 6 นอต(11 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 30 นอต(56 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 988 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ 3 เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดดีเปรสชันเขตร้อน 08W จะเริ่มมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางเหนือมากขึ้น มีแน้วโน้มที่จะมุ่งหน้าไปยังประเทศจีนตอนใต้ เกาะฮ่องกง ในช่วง 5-8 ส.ค.52 นี้คาดว่าพายุลูกนี้จะทวีขึ้นเป็นพายุโซนร้อนในอีก 13 ชั่วโมงข้างหน้า หรือช่วงประมาณ 19.00น.วันนี้(03ส.ค.52) : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    2)Tropical Disturbance 98W (20.6N 133.3E,15-20kts): เมื่อเวลา 07.00น.วันนี้(03ส.ค.52) หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง 98W มีศูนย์กลางปกคลุมกลางทะเลแปซิฟิค อยู่ที่ละติจูด 20.6 องศาเหนือ ลองจิจูด 133.3 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จากเกาะโอกินาวา ประเทศญี่ปุ่น ห่ างประมาณ 695 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศเหนือค่อนตะวันตกเล็กด้วยความเร็ว 10 นอต(19 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 15-20 นอต(28-37 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 998 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ - เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง 98W จะยังคงมีทิศทางเคลื่อนตัวไปทางเหนือโดยส่วนใหญ่ต่อไป 24 ชั่วโมงข้างหน้า มีแนวโน้มที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนใน 24-48 ชั่วโมงนี้ หรือช่วง 02-03ส.ค.52 : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    <เพิ่มเติม/ความเห็น> พายุ 08W ไม่มีแนวโน้มเคลื่อนตัวเข้าสู่ไทยแต่อาจส่งผลกระทบทางอ้อมได้
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม INFRARED ทุกๆ 1 ชม.
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 100-150 องศาตะวันออก)
    [​IMG]
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 140-180 องศาตะวันออก)
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรเเปซิฟิคตอนเหนือด้านตะวันตก ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณประเทศญี่ปุ่น ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายแบบเต็ม ทุกๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/globe/2048x2048/ir.jpgCLICK เพื่อดูภาพขนาดใหญ่
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/animation/MPEG-2/last-120h.mpgCLICK เพื่อดูภาพถ่ายดาวเทียมเคลื่อนไหว 120 ชั่วโมงที่ผ่านมา หรือ เมื่อ 5 วันที่ผ่านมา UPDATE ทุกๆ 1 ชั่วโมง

    *******

    ภาพการคาดหมายเส้นทางการเดินพายุ ล่วงหน้า 5 วัน ทุกๆ 6 ชม.
    บริเวณพื้นที่ตาข่ายสีดำ รูปกรวย(โคน) แสดงถึง ความไม่แน่นอน/ความเป็นไปได้ที่จะได้รับผลกระทบหรือศูนย์กลางพายุอาจจะพัดผ่าน
    ***เครื่องของท่านอาจไม่ปรากฏภาพดังกล่าว ให้ CLICK ขวา > Show Picture***
    ที่มา Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC *ต้นฉบับ*
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    CIMSS Tropical Cyclones
    http://www.solar.ifa.hawaii.edu/Tropical/Gif/nwp.latest.gif
     
  8. LuckyFriday

    LuckyFriday เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    221
    ค่าพลัง:
    +1,153
    น้องมรกต มาแล้วครับ

    Current Northwest Pacific/North Indian Ocean* Tropical Systems:


    * Includes Bay of Bengal and Arabian Sea


    Current Central/Eastern Pacific Tropical Systems:


    Current Southern Hemisphere Tropical Systems:


    No Current Tropical Cyclone Warnings.

    Current Significant Tropical Weather Advisories:



    <TABLE class=CHANNEL cellSpacing=1><TBODY><TR><TH>MTSAT-1R (IR1)</TH><TH>MTSAT-1R (IR2)</TH></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TH>MTSAT-1R (IR3)</TH><TH>MTSAT-1R (IR4)</TH></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    <HR width=1000>Global Sea Surface Temperatures.
    [​IMG]

    <HR width=1000>ภาพแผนที่แสดงความกดอากาศโดยกรมอุตุนิยมวิทยา



    [​IMG]
     
  9. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Tropical Storm GONI (08W) #05 : ประกาศเรื่อง “พายุโซนร้อน โกนี (08W)” ฉบับที่ 5
    Tropical Storm GONI (08W) #05 : ประกาศเรื่อง “พายุโซนร้อน โกนี (08W)” ฉบับที่ 5
    ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น ฮาวาย, สหรัฐฯ (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    สภาวะโดยทั่วไปของพายุหมุนเขตร้อนเมื่อเวลา 07.00น.
    ประจำวันที่ 04 สิงหาคม 2552 ออกประกาศเวลา 10.00 น. ตามเวลาประเทศไทย

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ ทะเลจีนใต้ และอ่าวไทย วันที่ 04 สิงหาคม 2552 /07.30 น. ปรากฎพายุหมุนเขตร้อน 2 ลูก / หย่อมความกดอากาศต่ำ 0 ลูก
    1)Tropical Storm GONI (08W,20.5N 113.7E,40kts): เมื่อเวลา 01.00น.วันนี้(04ส.ค.52) ดีเปรสชันเขตร้อน 08W ซึ่งมีศูนย์กลางปกคลุมทะเลจีนใต้ตอนบน ได้พัฒนาเป็นพายุโซนร้อน GONI (โกนี/08)แล้ว ล่าสุดเมื่อเวลา 07.00น.วันนี้(04ส.ค.52) พายุเคลื่อนตัวมา อยู่ที่ละติจูด 20.5 องศาเหนือ ลองจิจูด 113.7องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จากเกาะฮ่องกง ห่ างประมาณ 204 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 8 นอต(15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 40 นอต(74 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 991 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ 4 เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดพายุโซนร้อน GONI (โกนี/08) จะมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางตะวันตกเฉียงเหนือต่อไปอีก 24 ชั่วโมงข้างหน้า มีแน้วโน้มที่จะมุ่งหน้าไปยังประเทศจีนตอนใต้ และเกาะไหหลำ ในช่วง 5-6 ส.ค.52: ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    2)Tropical Storm MORAKOT (09W,21.8N 136.2E,35kts): เมื่อเวลา 07.00น.วันนี้(04ส.ค.52) ดีเปรสชันเขตร้อน 09W ได้พัฒนาเป็นพายุโซนร้อน MORAKOT (มรกต/09W) มีศูนย์กลางปกคลุมกลางทะเลแปซิฟิค อยู่ที่ละติจูด 21.8 องศาเหนือ ลองจิจูด 136.2 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จากเกาะโอกินาวา ประเทศญี่ปุ่น ห่ างประมาณ 1001 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศเหนือค่อนตะวันออกความเร็ว 6 นอต(11 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 35 นอต(65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 994 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ 4 เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดพายุโซนร้อน MORAKOT (มรกต/09W) จะเริ่มเปลี่ยนทิศทางไปทางตะวันตกมาขึ้น มีแนวโน้มที่จะเคลื่อนตัวเข้าสู่ด้านตะวันออกของประเทศจีน 08-09ส.ค.52 : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    <เพิ่มเติม/ความเห็น> พายุ 08W และ09W ยังไม่มีแนวโน้มเคลื่อนตัวเข้าสู่ไทย / ก็เรียนให้ทราบอีกครั้งว่า จะรายงานพายุลูกนี้ 08W เป็นลูกสุดท้าย ส่วนพายุที่จะก่อตัวหลังจากนี้จะของดการรายงานพายุหมุนเขตร้อน จนกว่าจะมีการสอบเสร็จสิ้น คาดว่าประมาณ 1 เดือน ถือว่าเป็นเรื่องน่าเสียดายเพราะดันมาสอบเดือนสิงหาคมซึ่งเป็นเดือนที่มี พายุหมุนเขตร้อนก่อตัวสูงที่สุด โดยเฉลี่ยแล้วไม่ต่ำกว่า 5 ลูก แล้วพบกันใหม่ช่วงประมาณเดือนหน้า
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม INFRARED ทุกๆ 1 ชม.
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 100-150 องศาตะวันออก)
    [​IMG]
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 140-180 องศาตะวันออก)
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรเเปซิฟิคตอนเหนือด้านตะวันตก ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณประเทศญี่ปุ่น ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายแบบเต็ม ทุกๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/globe/2048x2048/ir.jpgCLICK เพื่อดูภาพขนาดใหญ่
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/animation/MPEG-2/last-120h.mpgCLICK เพื่อดูภาพถ่ายดาวเทียมเคลื่อนไหว 120 ชั่วโมงที่ผ่านมา หรือ เมื่อ 5 วันที่ผ่านมา UPDATE ทุกๆ 1 ชั่วโมง

    *******

    ภาพการคาดหมายเส้นทางการเดินพายุ ล่วงหน้า 5 วัน ทุกๆ 6 ชม.
    บริเวณพื้นที่ตาข่ายสีดำ รูปกรวย(โคน) แสดงถึง ความไม่แน่นอน/ความเป็นไปได้ที่จะได้รับผลกระทบหรือศูนย์กลางพายุอาจจะพัดผ่าน
    ***เครื่องของท่านอาจไม่ปรากฏภาพดังกล่าว ให้ CLICK ขวา > Show Picture***
    ที่มา Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC *ต้นฉบับ*
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    CIMSS Tropical Cyclones
    http://www.solar.ifa.hawaii.edu/Tropical/Gif/nwp.latest.gif
     
  10. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    เห็นทางสมุยแจ้งว่า พายุและฝนรุนแรงอากาศแปรปรวนมาก หากถึงช่วงพายุเข้าเต็มที่ คงต้องระวัดระวังกันให้มากๆครับ
     
  11. LuckyFriday

    LuckyFriday เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    221
    ค่าพลัง:
    +1,153
    <TABLE class=CHANNEL cellSpacing=1><TBODY><TR><TH>MTSAT-1R (IR1)</TH><TH>MTSAT-1R (IR2)</TH></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TH>MTSAT-1R (IR3)</TH><TH>MTSAT-1R (IR4)</TH></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>

    <HR width=1000>Global Sea Surface Temperatures.
    [​IMG]

    <HR width=1000>ภาพแผนที่แสดงความกดอากาศโดยกรมอุตุนิยมวิทยา
    ระวังนะครับทุกครั้งก่อนที่พายุจะสลายตัวมันเหมือนโซ่มอเตอร์ไซค์ที่ขาดมันสะบัดและฟาดสะเปะสะปะไปทั่วแรงเหวี่ยงแรงดึงแรงฟาดมันจะมากเป็นพิเศษถ้าหางมันที่ขาดของมันไปตกคลุมที่ไหนก็จะมีฝนตกหนักและลมแรงบริเวณนั้น[​IMG]
     
  12. LuckyFriday

    LuckyFriday เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    221
    ค่าพลัง:
    +1,153
    TSR Storm Alert - Typhoon MORAKOTพายุไต้ฝุ่น มรกต ระดับ 4
    กรมอุตุนิยมวิทยาไต้หวันได้ประกาศเตือนทางบกและทางทะเลให้ประชาชนระวังพายุไต้ฝุ่น มรกต ที่มีความรุนแรงระดับปานกลางถึงมากที่สุดในปีนี้
    กรมอุตุนิยมวิทยาไต้หวันออกประกาศเตือนทางบกและทางทะเลให้ระวังพายุไต้ฝุ่น "มรกต" ที่มีความรุนแรงระดับปานกลาง และเป็นพายุที่มีความรุนแรงมากที่สุดในปีนี้
    คาดว่าพายุไต้ฝุ่นมรกต ซึ่งมีศูนย์กลางจากทางตะวันออกเฉียงใต้ของไต้หวันราว 660 กิโลเมตร
    ณ เวลา 07.30 น.ตามเวลาไทยวันนี้ จะเคลื่อนตัวถึงทางเหนือของไต้หวันภายในช่วงเช้าวันพรุ่งนี้
    โดยมีความเร็วลมสูงสุดถึง 137
    กิโลเมตรต่อชั่วโมง

    เว็บไซท์ Tropical Storm Risk
    คาดการณ์ว่า พายุมรกตจะทวีความรุนแรงขึ้นเป็นพายุไต้ฝุ่นระดับ 4 ในช่วงเช้าวันพรุ่งนี้ จากมาตรวัดความรุนแรง 1-5 ระดับ
    โดยจะพาดผ่านกรุงไทเปโดยตรง
    ก่อนที่จะเคลื่อนตัวถึงทางตะวันออกเฉียงใต้ของจีนภายในวันเสาร์ ด้วยความแรงที่ลดลงสู่ระดับ 2
    จีน, ไต้หวัน, ฟิลิปปินส์และญี่ปุ่นมักจะมีพายุไต้ฝุ่นในช่วงครึ่งปีหลังโดยก่อตัวขึ้นจากระแสน้ำอุ่นในมหาสมุทรแปซิฟิก หรือทะเลจีนใต้ก่อนที่จะอ่อนกำลังลงเมื่อพัดขึ้นฝั่ง
     
  13. LuckyFriday

    LuckyFriday เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    221
    ค่าพลัง:
    +1,153
    ภาพถ่ายดาวเทียมล่าสุด มีลูกนึงหักหัวลงด้านซ้ายครับ

    [​IMG]

    <TABLE class=CHANNEL cellSpacing=1><TBODY><TR><TH>MTSAT-1R (IR1)</TH><TH>MTSAT-1R (IR2)</TH></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TH>MTSAT-1R (IR3)</TH><TH>MTSAT-1R (IR4)</TH></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    ภาพแผนที่แสดงเส้นทางเดินของพายุบริเวณ North West Pacific
    [​IMG]


    <HR width=1000><HR width=1000>Global Sea Surface Temperatures.
    [​IMG]


    <HR width=1000>ภาพแผนที่แสดงความกดอากาศโดยกรมอุตุนิยมวิทยา

    [​IMG]
     
  14. LuckyFriday

    LuckyFriday เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    221
    ค่าพลัง:
    +1,153
    โกนี ยังไม่ตาย GONI RETUNN
    เหนือ อีสาน ระวังงานเข้าครับ

    Royal Rain Radar

    ดูความพิลึกของมันไม่รู้จะไปไหนดี(ภาพล่างสุด
    <TABLE class=CHANNEL cellSpacing=1><TBODY><TR><TH>MTSAT-1R (IR1)</TH><TH>MTSAT-1R (IR2)</TH></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD></TD></TR><TR><TH>MTSAT-1R (IR3)</TH><TH>MTSAT-1R (IR4)</TH></TR><TR><TD></TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    ภาพแผนที่แสดงเส้นทางเดินของพายุบริเวณ North West Pacific
    [​IMG]
    <HR width=1000>

    <HR width=1000>
    Global Sea Surface Temperatures.
    [​IMG]
    <HR width=1000>
    ภาพแผนที่แสดงความกดอากาศโดยกรมอุตุนิยมวิทยา
    [​IMG]
     
  15. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    [​IMG][​IMG] กีฬา ดำน้ำ นับเป็นกิจกรรมการท่องเที่ยว ที่เกี่ยวโยงกับธรรมชาติอย่างมาก คลื่นลมในทะเล อาจส่งผลกระทบต่อนักดำน้ำได้ หลายประการ ตั้งแต่ ฝนตกหนัก น่าเบื่อหน่าย คลื่นสูงจนดำน้ำไม่สนุก เมาเรือ ไปจนถึง ลมหรือพายุรุนแรง ที่ทำให้ต้องงดดำน้ำได้ ดังนั้น ความเข้าใจ ในสภาพภูมิอากาศ ตามธรรมชาติ น่าจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่ง สำหรับนักดำน้ำทุกคน โดยเฉพาะ เมื่อเป็นที่รู้กันว่า ทุกวัน ตลอดทั้งปี จะต้องมีสักแห่งหนึ่งในเมืองไทย ที่คุณสามารถลงไปดำน้ำได้อย่างแน่นอน การวางแผนทริปท่องเที่ยว ในแต่ละช่วงของปี จึงเป็นสิ่งสำคัญ ที่จะทำให้แผนการท่องเที่ยวของคุณ ราบรื่น สวยงาม
    เอาเป็นว่า รอบนี้ เรามาทำความรู้จักกับ สภาพภูมิอากาศ ของประเทศไทยกันก่อนดีกว่า ภูมิอากาศของประเทศไทย ได้รับอิทธิพล จากปรากฏการณ์ธรรมชาติ 3 อย่างด้วยกัน นั่นคือ ลมมรสุม (Monsoon), พายุหมุนเขตร้อน (Tropical Cyclone) และ ร่องความกดอากาศต่ำ ทั้ง 3 สิ่งนี้เกิดขึ้นจากปัจจัยหลายประการ ระหว่างดาวเคราะห์ที่ชื่อว่า "โลก" และดาวฤกษ์ที่ชื่อว่า "ดวงอาทิตย์" เช่น มุมแกนหมุนของโลก ที่ทำกับ ระนาบการโคจร รอบดวงอาทิตย์, อุณหภูมิพื้นผิวโลก และมหาสมุทร, ความหนาแน่น ของมวลอากาศ ในแต่ละพื้นที่, อุณหภูมิของมวลอากาศนั้น ฯลฯ อีกมากมาย แต่ถ้าจะเล่าถึงต้นตอขนาดนั้น คงจะยืดยาวเกินไป เอาเฉพาะ 3 สิ่งนี้ ก่อนดีกว่าครับ

    ลมมรสุม (Monsoon)
    ทุก คนคงจะเคยได้ยินติดหูกันมาบ้าง ในสมัยวัยเยาว์ (แต่ตอนนี้ก็ยังเยาว์อยู่เหมือนกันนะครับ) ว่าลมมรสุม คือลมประจำฤดู ของไทย เกิดขึ้นเพราะอุณหภูมิที่แตกต่างกัน ระหว่างมวลอากาศเขตพื้นดินกับพื้นน้ำ ในแต่ละฤดูกาล จึงเกิดการไหลเวียนของอากาศ ระหว่างพื้นน้ำกับพื้นดิน ลมมรสุมนี้ มีกำลังอ่อนบ้างแรงบ้าง ขึ้นอยู่กับแนวร่องความกดอากาศต่ำ
    ลมมรสุม ตะวันตกเฉียงใต้ พัดจากมหาสมุทรอินเดียเข้าสู่ประเทศไทย ในระหว่างเดือนพฤษภาคม ถึงต้นเดือนตุลาคม หอบเอาความชื้นจากทะเล มาปะทะแนวเขา เกิดเป็นฝนตกชุกในแถบภาคใต้ฝั่งอันมัน พัดผ่านไทยขึ้นเหนือสู่ประเทศจีนต่อไป
    ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ พัดจากแถบไซบีเรียและจีน ในระหว่างเดือนตุลาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ พาอากาศแห้งและเย็น ลงมาปกคลุมตอนเหนือถึงตอนกลาง ของประเทศไทย แล้วหอบเอาความชื้นใ่นไทย ไปตกเป็นฝนในแถบภาคใต้ฝั่งอ่าวไทย แต่ฝนจะน้อยลงมาก ในระหว่างเดือนมกราคมถึงเดือนกุมภาพันธ์

    พายุหมุนเขตร้อน (Tropical Cyclone)
    พายุ หมุนเขตร้อน หมายถึง พายุที่เกิดขึ้น เหนือมหาสมุทร ในเขตร้อน (ละติจูดต่ำ หรือ ใกล้เส้นศูนย์สูตร) เนื่องจากกระบวนการ ถ่ายเทพลังงาน ของอากาศชื้น เหนือมหาสมุทร เมื่อเกิดขึ้นแล้ว มักจะเคลื่อนตัวไปตามกระแสลมรอบข้าง อาจมีกำลังแรงขึ้น หรืออ่อนลง ตามแต่ลักษณะอากาศ ที่เคลื่อนผ่านไป แต่เมื่อเคลื่อนเข้าสู่แผ่นดิน จะอ่อนกำลังลง เพราะไม่มีพลังงานจากไอน้ำ มาเสริมกำลังต่อ
    ปัจจุบัน เราแบ่งพายุหมุนเขตร้อน ออกเป็น 3 กลุ่ม ตามระดับความรุนแรง โดยวัดจากความเร็วลม ณ ศูนย์กลางพายุเป็นหลัก ดังนี้
    <!-- fix IE bug that it will unable to calculate correct table width --> <table width="100%" border="0" cellspacing="0"> <tbody><tr><td class="h_row h_key">พายุดีเปรสชั่น
    (Tropical Depression)</td><td class="h_row">มี ความเร็วลมไม่เกิน 63 km/h (ประมาณ 17 m/s) มองจากดาวเทียม จะเห็นเป็นกลุ่มเมฆ หนาทึบ เป็นวงกลม ยังไม่มีแนวขดเป็นเกลียว หรือ ตาพายุ ชัดเจน

    </td></tr> <tr><td class="h_row h_key">พายุโซนร้อน
    (Tropical Storm)</td><td class="h_row">มี ความเร็วลมสูงกว่า ดีเปรสชั่น แต่ไม่เกิน 118 km/h (ประมาณ 32 m/s) จากภาพถ่ายดาวเทียม อาจเริ่มเห็นเกลียวแขนของกลุ่มเมฆบ้าง พายุระดับนี้ จะได้รับการกำหนดชื่อให้ โดยหน่วยงานด้านอุตุนิยมวยานานาชาติ (ยกเว้นประเทศฟิลิปปินส์ จะเริ่มตั้งชื่อพายุที่เข้ามาในเขตประเทศ ตั้งแต่ยังเป็น ดีเปรสชั่น)

    </td></tr> <tr><td class="h_row h_key">พายุระดับรุนแรงที่สุด</td><td class="h_row">เรียก กันง่ายๆ ว่า Tropical Cyclone (เพียงเพื่อให้แตกต่างจากพายุ 2 กลุ่มแรก เท่านั้น) แต่จะมีชื่อเรียกหลากหลายชื่อ ตามแต่พื้นที่ที่เกิดพายุ เช่น ในแถบแปซิฟิค เรียกว่า ไต้ฝุ่น (Typhoon) แถบอเมริกากลาง เรียกว่า เฮอร์ริเคน (Hurricane) แถบมหาสมุทรอินเดีย เรียกว่า ไซโคลน (Cyclone) ส่วนในแถบมหาสมุทรอินเดีย ใกล้ออสเตรเลีย เรียกว่า วิลลี่ วิลลี่ (Willi Willi) พายุระดับนี้มักจะเกิด "ตาพายุ" ขึ้นตรงใจกลาง ซึ่งเป็นบริเวณที่อากาศ มีความกดน้อยที่สุด และลมในบริเวณนั้น ค่อนข้างสงบนิ่ง อาจมีขนาดตาพายุตั้งแต่ 16 - 80 km เลยทีเดียว</td></tr> <tr><td class="h_key h_row" width="30%"><!-- -->
    </td><td class="h_row" width="70%"><!-- -->
    </td></tr> </tbody></table>
    นอก จากนี้ ในแถบอื่นของโลก ซึ่งโดนพายุหมุน ระดับที่รุนแรงมากกว่านี้ ยังมีการจัดระดับเพิ่มเติมอีกจนถึงระดับ Super Typhoon ซึ่งมีความเร็วลมสูงกว่า 239 km/h เลยทีเดียว นับว่าเป็นโชคดีของเรา ที่ประเทศไทย ตั้งอยู่ในเขตที่โดนพายุหมุน น้อยที่สุด ในบรรดา ประเทศเขตร้อน ที่มีพายุหมุนทั้งหมดครับ (ถ้าอ่านจากชื่อไทย และชื่ออังกฤษ อาจจะดูสับสนเล็กน้อย เพราะ Tropical ก็แปลว่า เขตร้อน แต่เราเรียกเฉพาะ Tropical Storm ว่าพายุโซนร้อน ในขณะที่ Storm แปลว่า พายุ ส่วน Depression แปลว่า ความกดอากาศต่ำ แต่เราเรียกว่า "พายุ" ทั้งคู่)
    พายุ ที่เคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทย มาได้จาก 2 ทาง คือ จากอ่าวเบงกอล เข้าสู่ภาคตะวันตกของประเทศ ในช่วงเดือนพฤษภาคม แต่มีจำนวนน้อยกว่าอีกทางหนึ่ง คือพายุที่เกิดขึ้น ในมหาสมุทรแปซิฟิก แล้วเคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทย ทางตะวันออก ซึ่งเกิดได้ตั้งแต่ ช่วงเดือนมิถุนายน ถึงธันวาคม และแนวที่พายุเคลื่อนเข้า ก็จะสอดคล้องกับ แนวร่องความกดอากาศต่ำ ที่พาดผ่านในแต่ละช่วงเดือนนั่นเอง ตามสถิติโดยกรมอุตุฯ เดือนที่มีพายุเคลื่อนเข้าสู่ประเทศไทยมากที่สุด (ดูที่ศูนย์กลางพายุเป็นหลัก) คือ เดือนตุลาคม รองลงมาคือ เดือนกันยายน

    ร่องความกดอากาศต่ำ
    เป็น คำที่ได้ยินผู้ประกาศข่าวพูดถึงอยู่เสมอ แต่หลายคนก็ยังไม่ค่อยรู้จักกับมันเท่าไหร่นัก แต่เจ้าสิ่งนี้ กลับทำให้เกิดอะไรๆ กับภูมิอากาศบ้านเราได้มากมาย ขออธิบายลักษณะของมันสั้นๆ ว่า ร่องความกดอากาศต่ำ ก็คือ แนวของมวลอากาศ ที่มีความหนาแน่นต่ำ (มีอุณหภูมิสูง) เกิดขึ้นตามธรรมชาติของอากาศ ที่ได้รับพลังงาน จากดวงอาทิตย์ และมีมวลอากาศ ที่มีความกดสูงกว่า (ความหนาแน่นมากกว่า) กระจายอยู่รอบแนว 2 ด้าน ร่องความกดอากาศต่ำ มักจะเกิดในแนว ตะวันออก-ตะวันตก เป็นหลัก (เพราะเป็นแนวที่โลกหมุนรอบตัวเอง และหมุนรอบดวงอาทิตย์) อาจจะมีเฉียงเหนือหรือใต้ เล็กน้อย ตามฤดูกาล และกำลังของลมอื่นๆ ที่มากระทบ เช่น ลมมรสุม เป็นต้น

    เมื่อ มี ร่องความกดอากาศต่ำ พาดผ่าน มวลอากาศความกดสูงกว่า ที่อยู่รอบๆ ก็จะเคลื่อนเข้ามา พบกัน ในแนวนี้ เมื่อไม่มีที่ ให้พาอากาศ ไปไหนต่อ แต่มีปริมาณมากพอ ก็รวมตัว ตกลงมาเป็นฝน นั่นเอง
    นอกจากนี้ ร่องความกดอากาศต่ำ ก็จะทำหน้าที่ เป็นทางเดิน ให้กับพายุหมุนเขตร้อน ที่เกิดขึ้นทางทะเลจีนใต้ และมหาสมุทรแปซิฟิกด้วย จึงพบว่า พายุหมุนส่วนใหญ่ จะเคลื่อนที่ เข้าสู่ประเทศไทย ตามแนว ร่องความกดอากาศต่ำนี้

    [​IMG]
    ดัง นั้น การเคลื่อนตัวของ ร่องความกดอากาศต่ำ ในแต่ละช่วงของปี จึงเป็นปัจจัยสำคัญ ที่จะช่วยให้เรา คาดคะเนสภาพอากาศดีร้าย ได้ล่วงหน้าระดับหนึ่ง และสามารถวางแผน เลือกสถานที่ท่องเที่ยว ได้เหมาะสมมากยิ่งขึ้น
    ปกติ ร่องความกดอากาศต่ำ จะพาดผ่านประเทศไทย ตั้งแต่ เดือนเมษายน ถึง เดือนธันวาคม แต่จะส่งผล ให้เกิดฝนตกชุกจริง ก็ตั้งแต่ ช่วงพฤษภาคม เป็นต้นไป ซึ่งเป็นช่วงที่ เคลื่อนมาถึง ตอนกลาง ของประเทศ และเมื่อถึง เดือนมิถุนายน ก็ไปพาดเอา แถวตอนเหนือ ของประเทศไทย แล้วหายไปอยู่ ทางตอนเหนือสุด ของเวียดนาม และทางใต้ ของจีน พักหนึ่ง ราวเดือนกรกฎาคม ก่อนจะเริ่มเคลื่อน กลับเข้าสู่ ประเทศไทย อีกครั้ง ในระหว่างเดือน สิงหาคม ถึง เดือนธันวาคม ไล่ลงจากเหนือมาใต้ ตามลำดับ

    [​IMG]
    [​IMG]
    พฤติกรรม เช่นนี้ ทำให้ประเทศไทย มีฝนตกชุก ในช่วงเดือน พฤษภาคม ถึง เดือนตุลาคม โดยทิ้งช่วงไปพักหนึ่ง ราวเดือนกรกฎาคม และกลับมาตกชุก จนถึงตกหนัก อีกครั้ง ตั้งแต่เดือนสิงหาคม เป็นต้นไป แต่คราวนี้ หากมีพายุหมุนเขตร้อน เฉียดเข้ามาใกล้ หรือเคลื่อนเข้ามาด้วย ก็จะทำให้มีฝนตกหนัก ถึงหนักมาก หรือเกิดความเสียหาย ต่อชีวิต และทรัพย์สินได้

    นอก จาก 3 สิ่งนี้แล้ว ก็ยังมีช่วงเดือนมีนาคมหรือเดือนเมษายน ที่ลมตะเภา หรือลมว่าว ซึ่งพัดมาจากทิศใต้ หรือตะวันออกเฉียงใต้ อาจปะทะเข้ากับ มวลอากาศเย็น จากประเทศจีน ที่บังเอิญหลงทาง ในบางโอกาส ทำให้เกิดเป็น "พายุฤดูร้อน" มีฝนฟ้าคะนอง ลมกระโชกแรง หรือมีลูกเห็บตกลงมาด้วย ส่วนใหญ่จะเกิดขึ้น ทางตอนเหนือของประเทศ

    สรุปย่อช่วยจำ
    ร่อง ความกดอากาศต่ำ เป็นสิ่งสำคัญ ที่ช่วยคาดคะเนพื้นที่ ที่จะเกิดฝนตกชุก ในแต่ละเดือน จำง่ายๆ โดยเริ่มไล่จาก เดือนเมษายน ถึงเดือนมิถุนายน จากใต้สุดไปเหนือสุด แล้วไล่กลับลงมาอีกครั้ง จากเดือนสิงหาคม ถึงเดือนธันวาคม จากเหนือสุดมาใต้สุด ส่วนว่า จะไปเที่ยวที่ไหน ได้บ้างนั้น ต้องลองเปิด แผนที่ประเทศไทย ประกอบด้วยแล้วล่ะ
    สำหรับ ลมมรสุม คงจะจำกันได้ไม่ยากเพราะ เรียนกันมาแต่เด็กแล้ว หรือไม่ ก็ลองย้อนกลับไปอ่าน ด้านบนอีกรอบนะครับ

    จาก ข้อมูลเหล่านี้ น่าจะช่วยให้ทุกท่าน สามารถวางแผนการเดินทางท่องเที่ยวล่วงหน้า ในแต่ละเดือนได้ดียิ่งขึ้น ซึ่งไม่ได้หมายความถึง ทริปดำน้ำ เท่านั้นนะครับ แต่หมายรวมถึง ทุกการเดินทาง ในทุกสถานที่ท่องเที่ยว ที่คุณเลือก เป็นจุดหมายปลายทาง สำหรับวันหยุดพักผ่อน เพื่อความสุข สนุกสนาน ของผู้ร่วมทริปทุกคน

    <table class="t_hanging" width="100%" border="0" cellpadding="0" cellspacing="0"> <tbody><tr height="20"> <td colspan="2" align="right">
    </td> </tr> <tr> <td class="h_key" valign="top" width="15%">ภาพและข้อมูลจาก</td> <td style="padding-left: 5px;" valign="top" width="85%">กรมอุตุนิยมวิทยา</td> </tr><tr> <td class="h_key" valign="top" width="15%">ข้อมูลจาก</td> <td style="padding-left: 5px;" valign="top" width="85%">สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, สาระวิทยาศาสตร์ทางทะเล, พ.ศ. 2546</td> </tr><tr> <td class="h_key" valign="top" width="15%">
    </td> <td style="padding-left: 5px;" valign="top" width="85%">Wikipedia: Tropical cyclone</td> </tr><tr> <td class="h_key" valign="top" width="15%">เขียนโดย</td> <td style="padding-left: 5px;" valign="top" width="85%">ศุภพงษ์ อารีประเสริฐกุล (FreedomDIVE.com)</td> </tr><tr> <td colspan="2" align="right">นำเสนอ 06 ธ.ค. 2549</td> </tr> <tr> <td colspan="2" align="right">ปรับปรุงล่าสุด 02 ต.ค. 2549</td> </tr> </tbody></table>


    ความรู้การดำน้ำ >
     
  16. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Tropical Cyclone Formation Alert 94W : ประกาศตือนภัยพายุหมุนเขตร้อน 94W
    ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น ฮาวาย, สหรัฐฯ (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    สภาวะโดยทั่วไปของพายุหมุนเขตร้อนเมื่อเวลา 13.00น.
    ประจำวันที่ 16 สิงหาคม 2552 ออกประกาศเวลา 13.00 น. ตามเวลาประเทศไทย

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ ทะเลจีนใต้ และอ่าวไทย วันที่ 16 สิงหาคม 2552 /16.00 น. ปรากฎพายุหมุนเขตร้อน 1 ลูก / หย่อมความกดอากาศต่ำ 2 ลูก
    1)Tropical Cyclone Formation Alert 94W (11.5N 161.4E,15-20kts): เมื่อเวลา 13.00น.วันนี้(16ส.ค.52) หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง 94W มีศูนย์กลางปกคลุมกลางทะเลแปซิฟิก อยู่ที่ละติจูด 11.5 องศาเหนือ ลองจิจูด 161.4องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจากเกาะPOHNPEI ห่ างประมาณ 583 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตก 7 นอต(13 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 15-20 นอต(28-37 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 1007 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ - เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง 94W จะเริ่มมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางตะวันตกเฉียงเหนือมากขึ้นในอีก 12-24 ชั่วโมง มีแนวโน้มที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนในอีก 24 ชั่วโมงข้างหน้านี้ : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    2)Tropical Disturbance 95W (27.3N 141.1E,15kts): เมื่อเวลา 13.00น.วันนี้(16ส.ค.52) หย่อมความกดอากาศต่ำ 95W มีศูนย์กลางปกคลุมกลางทะเลแปซิฟิค อยู่ที่ละติจูด 27.3 องศาเหนือ ลองจิจูด 141.1 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จากประเทศญี่ปุ่น ห่ างประมาณ - กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศเหนือค่อนตะวันตกด้วยความเร็ว 6 นอต(11 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมาอย่างช้าๆ . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 15 นอต(28 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 1010 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ - เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดหย่อมความกดอากาศต่ำ 95W จะมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางตะวันตกต่อไป ยังไม่มีแนวโน้มที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนใน 24 ชั่วโมงนี้ : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    3)Tropical Storm MAKA (01C,16.2N 174.0E,45kts): เมื่อเวลา 13.00น.วันนี้(16ส.ค.52) พายุโซนร้อน MAKA 01C มีศูนย์กลางปกคลุมกลางทะเลแปซิฟิค อยู่ที่ละติจูด 16.2 องศาเหนือ ลองจิจูด 174.0 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จากหมู่เกาะ WAKE ห่ างประมาณ 769 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศเหนือค่อนตะวันออกด้วยความเร็ว 8 นอต(15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 45 นอต(83 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 992 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ 5 เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดพายุโซนร้อน MAKA 01C จะมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางทิศเหนือโดยส่วนใหญ่ต่อไปในอีก 12-24 ชั่วโมงข้างหน้า มีแนวโน้มเคลื่อนตัวเข้าใกล้เกาะเวคในอีก 72 ชั่วโมงข้างหน้า ก่อนที่จะพัฒนาเป็นพายุไต้ฝุ่นระยะต่อไป : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    <เพิ่มเติม/ความเห็น> ก็กลับมาแล้วครับสอบเสร็จสิ้นแล้ว ทีแรกเข้าใจว่าจะสอบภาค ก. และภาค ข.แยกกัน แต่ปรากฏว่า สอบรวมกันไปเลย ดีนะที่รู้ตัวทันก่อน 1 อาทิตย์ สำหรับพายุทั้งหมดล่าสุดในขณะนี้ไม่มีแนวโน้มเคลื่อนตัวเข้าสู่ไทย เพราะยังอยู่ไกลมาก
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม INFRARED ทุกๆ 1 ชม.
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 100-150 องศาตะวันออก)
    [​IMG]
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 140-180 องศาตะวันออก)
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรเเปซิฟิคตอนเหนือด้านตะวันตก ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณประเทศญี่ปุ่น ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายแบบเต็ม ทุกๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/globe/2048x2048/ir.jpgCLICK เพื่อดูภาพขนาดใหญ่
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/animation/MPEG-2/last-120h.mpgCLICK เพื่อดูภาพถ่ายดาวเทียมเคลื่อนไหว 120 ชั่วโมงที่ผ่านมา หรือ เมื่อ 5 วันที่ผ่านมา UPDATE ทุกๆ 1 ชั่วโมง

    *******

    ภาพการคาดหมายเส้นทางการเดินพายุ ล่วงหน้า 5 วัน ทุกๆ 6 ชม.
    บริเวณพื้นที่ตาข่ายสีดำ รูปกรวย(โคน) แสดงถึง ความไม่แน่นอน/ความเป็นไปได้ที่จะได้รับผลกระทบหรือศูนย์กลางพายุอาจจะพัดผ่าน
    ***เครื่องของท่านอาจไม่ปรากฏภาพดังกล่าว ให้ CLICK ขวา > Show Picture***
    ที่มา Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC *ต้นฉบับ*
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    CIMSS Tropical Cyclones
    http://www.solar.ifa.hawaii.edu/Tropical/Gif/nwp.latest.gif

    *******
     
  17. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <table width="600" bgcolor="white" border="1" bordercolor="blue" cellpadding="5" cellspacing="0"><tbody><tr><td align="center" bgcolor="blue"> Typhoon VAMCO (11W) Category 3 #13 : ประกาศเรื่อง “ไต้ฝุ่น หว่ามก๋อ (11W) ระดับ 3” ฉบับที่ 13 </td></tr> <tr><td>
    <table width="590" align="center" border="0"> <tbody><tr><td> Typhoon VAMCO (11W) Category 3 #13 : ประกาศเรื่อง “ไต้ฝุ่น หว่ามก๋อ (11W) ระดับ 3” ฉบับที่ 13
    ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น ฮาวาย, สหรัฐฯ (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    สภาวะโดยทั่วไปของพายุหมุนเขตร้อนเมื่อเวลา 01.00น.
    ประจำวันที่ 20 สิงหาคม 2552 ออกประกาศเวลา 10.00 น. ตามเวลาประเทศไทย

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ ทะเลจีนใต้ และอ่าวไทย วันที่ 20 สิงหาคม 2552 /08.00 น. ปรากฎพายุหมุนเขตร้อน 1 ลูก / หย่อมความกดอากาศต่ำ 1 ลูก
    1)Typhoon VAMCO (11W,18.7N 157.3E,105kts): เมื่อเวลา 07.00น.วันนี้(20ส.ค.52) ไต้ฝุ่น VAMCO (หว่ามก๋อ/11W) ซึ่งเป็นพายุระดับ 2 มีศูนย์กลางปกคลุมกลางทะเลแปซิฟิกได้ทวีความรุนแรงเป็นไต้ฝุ่นระดับ 3 แล้ว ศูนย์กลางพายุไต้ฝุ่นลูกนี้ อยู่ที่ละติจูด 18.7 องศาเหนือ ลองจิจูด 157.3องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จากเกาะIWO TO ห่ างประมาณ 1798 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศเหนือค่อนตะวันตกเล็กน้อยด้วยความเร็ว 2 นอต(4 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 105 นอต(195 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 931 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ 9 เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดไต้ฝุ่น VAMCO (หว่ามก๋อ/11W) จะยังคงมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางเหนือโดยส่วนใหญ่ในอีก 12-24 ชั่วโมง คาดว่าจะทีวความรุนแรงเป็นไต้ฝุ่นระดับ 4 ในอีก 12 ชั่วโมงข้างหน้าหรือช่วง ประมาณ 19.00น.วันนี้(20ส.ค.52) ก่อนที่จะมุ่งหน้าไปทางทิศเหนือโดยส่วนใหญ่ แต่อย่างไรก็ตามไม่มีแนวโน้มเคลื่อนตัวเข้าสู่ประเทศใดๆ : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    2)Tropical Disturbance 95W (24.3N 133.1E,15kts): เมื่อเวลา 07.00น.วันนี้(20ส.ค.52) หย่อมความกดอากาศต่ำ 95W มีศูนย์กลางปกคลุมกลางทะเลแปซิฟิค อยู่ที่ละติจูด 24.3 องศาเหนือ ลองจิจูด 133.1 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จากกรุงโตเกียวประเทศญี่ปุ่น ห่ างประมาณ - กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางใต้เล็กน้อยด้วยความเร็ว 4 นอต(7 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมาอย่างช้าๆ . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 15 นอต(28 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 1010 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ - เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดหย่อมความกดอากาศต่ำ 95W จะมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางตะวันตกโดยส่วนใหญ่ต่อไป ยังไม่มีแนวโน้มที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนใน 24 ชั่วโมงนี้ : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    <เพิ่มเติม/ความเห็น> พายุทั้งหมดยังไม่มีแนวโน้มเคลื่อนตัวเข้าสู่ไทย / สำหรับวงสีเขียวคือบริเวณที่มีแนวโน้มพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนในอนาคต
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม INFRARED ทุกๆ 1 ชม.
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 100-150 องศาตะวันออก)
    [​IMG]
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 140-180 องศาตะวันออก)
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรเเปซิฟิคตอนเหนือด้านตะวันตก ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณประเทศญี่ปุ่น ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายแบบเต็ม ทุกๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/globe/2048x2048/ir.jpgCLICK เพื่อดูภาพขนาดใหญ่
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/animation/MPEG-2/last-120h.mpgCLICK เพื่อดูภาพถ่ายดาวเทียมเคลื่อนไหว 120 ชั่วโมงที่ผ่านมา หรือ เมื่อ 5 วันที่ผ่านมา UPDATE ทุกๆ 1 ชั่วโมง

    *******

    ภาพการคาดหมายเส้นทางการเดินพายุ ล่วงหน้า 5 วัน ทุกๆ 6 ชม.
    บริเวณพื้นที่ตาข่ายสีดำ รูปกรวย(โคน) แสดงถึง ความไม่แน่นอน/ความเป็นไปได้ที่จะได้รับผลกระทบหรือศูนย์กลางพายุอาจจะพัดผ่าน
    ***เครื่องของท่านอาจไม่ปรากฏภาพดังกล่าว ให้ CLICK ขวา > Show Picture***
    ที่มา Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC *ต้นฉบับ*
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    CIMSS Tropical Cyclones
    http://www.solar.ifa.hawaii.edu/Tropical/Gif/nwp.latest.gif
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  18. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <table width="600" bgcolor="white" border="1" bordercolor="blue" cellpadding="5" cellspacing="0"><tbody><tr><td align="center" bgcolor="blue"> Tropical Cyclone Formation Alert 90W : ประกาศเตือนภัยพายุหมุนเขตร้อน </td></tr> <tr><td>
    <table width="590" align="center" border="0"> <tbody><tr><td> Tropical Cyclone Formation Alert 90W : ประกาศเตือนภัยพายุหมุนเขตร้อน
    ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น ฮาวาย, สหรัฐฯ (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    สภาวะโดยทั่วไปของพายุหมุนเขตร้อนเมื่อเวลา 01.00น.
    ประจำวันที่ 28 สิงหาคม 2552 ออกประกาศเวลา 03.00 น. ตามเวลาประเทศไทย

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ ทะเลจีนใต้ และอ่าวไทย วันที่ 28 สิงหาคม 2552 /01.00 น. ปรากฎพายุหมุนเขตร้อน 0 ลูก / หย่อมความกดอากาศต่ำ 3 ลูก
    1)Tropical Cyclone Formation Alert 90W(21.1N 148.2E,22-27kts): เมื่อเวลา 01.00น.วันนี้(28ส.ค.52) หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง 90W มีศูนย์กลางปกคลุมกลางทะเลแปซิฟิกตะวันตกตอนเหนือ อยู่ที่ละติจูด 21.1 องศาเหนือ ลองจิจูด 148.2 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จากเกาะ IWO TO ประเทศญี่ปุ่น ห่ างประมาณ 806 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศเหนือค่อนทางตะวันตกด้วยความเร็ว 8 นอต(15 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 22-27 นอต(41-50 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 1004 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ - เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง 90W จะยังคงมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางเหนือค่อนทางตะวันตกต่อไปโดยส่วนใหญ่ใน อีก 12-24 ชั่วโมง มีแนวโน้มพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนใน 24 ชั่วโมงข้างหน้านี้: ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    2)Tropical Disturbance 98W (18.9N 141.2E,15kts): เมื่อเวลา 01.00น.วันนี้(28ส.ค.52) หย่อมความกดอากาศต่ำ 98W มีศูนย์กลางปกคลุมทะเลแปซิฟิค อยู่ที่ละติจูด 18.9 องศาเหนือ ลองจิจูด 141.2 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จากเกาะโอกินาวา ประเทศญี่ปุ่น ห่ างประมาณ- กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศเหนือค่อนตะวันออกด้วยความเร็ว 4 นอต(7 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมาอย่างช้าๆ . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 10-15 นอต(19-28 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 1010 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ - เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดหย่อมความกดอากาศต่ำ 98W จะมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางเหนือโดยส่วนใหญ่ต่อไปในอีก 12-24 ชั่วโมงข้างหน้า ยังไม่มีแนวโน้มที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนใน 24 ชั่วโมงนี้ : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    3)Tropical Disturbance 10W (15.0N 141.7E,15kts): เมื่อเวลา 01.00น.วันนี้(28ส.ค.52) หย่อมความกดอากาศต่ำ 91W มีศูนย์กลางปกคลุมทะเลแปซิฟิค อยู่ที่ละติจูด 15.0 องศาเหนือ ลองจิจูด 141.7 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันตกจากเกาะกวม ห่ างประมาณ- กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือเล็กน้อยด้วยความเร็ว 4 นอต(7 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมาอย่างช้าๆ . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 10-15 นอต(19-28 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 1010 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ - เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดหย่อมความกดอากาศต่ำ 91W จะมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางตะวันตกโดยส่วนใหญ่ต่อไปในอีก 12-24 ชั่วโมงข้างหน้า ยังไม่มีแนวโน้มที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนใน 24 ชั่วโมงนี้ : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    <เพิ่มเติม/ความเห็น> พายุทั้งหมดยังไม่มีแนวโน้มเคลื่อนตัวเข้าสู่ไทย / สำหรับวงสีเขียวคือบริเวณที่มีแนวโน้มพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนในอนาคต
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม INFRARED ทุกๆ 1 ชม.
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 100-150 องศาตะวันออก)
    [​IMG]
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 140-180 องศาตะวันออก)
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรเเปซิฟิคตอนเหนือด้านตะวันตก ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณประเทศญี่ปุ่น ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายแบบเต็ม ทุกๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/globe/2048x2048/ir.jpgCLICK เพื่อดูภาพขนาดใหญ่
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/animation/MPEG-2/last-120h.mpgCLICK เพื่อดูภาพถ่ายดาวเทียมเคลื่อนไหว 120 ชั่วโมงที่ผ่านมา หรือ เมื่อ 5 วันที่ผ่านมา UPDATE ทุกๆ 1 ชั่วโมง

    *******

    ภาพการคาดหมายเส้นทางการเดินพายุ ล่วงหน้า 5 วัน ทุกๆ 6 ชม.
    บริเวณพื้นที่ตาข่ายสีดำ รูปกรวย(โคน) แสดงถึง ความไม่แน่นอน/ความเป็นไปได้ที่จะได้รับผลกระทบหรือศูนย์กลางพายุอาจจะพัดผ่าน
    ***เครื่องของท่านอาจไม่ปรากฏภาพดังกล่าว ให้ CLICK ขวา > Show Picture***
    ที่มา Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC *ต้นฉบับ*
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    CIMSS Tropical Cyclones
    http://www.solar.ifa.hawaii.edu/Tropical/Gif/nwp.latest.gif

    *******

    ภาพถ่ายดาวเทียมเคลื่อนไหว INFRARED ของ พายุ ทุกๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม ENHANCED INFRARED ของพายุ (ทุกๆ 1ชั่วโมง) บ่งบอกถึงระดับความรุนแรงที่ศูนย์กลางพายุ
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม AVN COLOR ของพายุ (ทุกๆ 1ชั่วโมง) บ่งบอกถึงระดับความเร็วลมของพายุ
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม WATER VAPOR ของพายุ (ทุกๆ 1ชั่วโมง) บ่งบอกถึงระดับความหนาแน่นของเมฆฝนของพายุ
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม FUNKTOP ของพายุ (ทุกๆ 1ชั่วโมง) บ่งบอกถึงระดับความรุนแรงของฝนและปริมาณน้ำฝนของพายุบริเวณต่างๆ
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม BLACK and WHITE (ทุกๆ 1ชั่วโมง) บ่งบอกถึงค่าระดับความรุนแรงของพายุ(DVORAK) เช่น ส่วนโค้ง ลมดิ่ง ปริมาณเมฆฝนที่ศูนย์กลาง กำแพงตาพายุ และตาพายุ
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม JSL ของพายุ (ทุกๆ 1ชั่วโมง) เป็นการแบ่งระดับความรุนแรงของพายุในบริเวณต่างๆ
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม RAINBOW ของพายุ (ทุกๆ 1ชั่วโมง) บ่งบอกถึงระดับอุณหภูมิที่พื้นผิวเมฆและชั้นบรรยากาศของพายุ
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม INFRARED ของพายุ (ทุกๆ 1ชั่วโมง)
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม VISIBLE ของพายุ (ทุกๆ 1ชั่วโมง) เป็นภาพถ่ายดาวเทียมแบบเห็นจริง เฉพาะเวลากลางวันเนื่องจากการหมุนของโลก และแสงอาทิตย์
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม RGB ของพายุ (ทุกๆ 1ชั่วโมง) เป็นภาพถ่ายดาวเทียมเรืองแสงสามารถเห็นได้ทั้งกลางวันและกลางคืนแม้ไม่มีแสง อาทิตย์สาดส่อง
    [​IMG]

    *******
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  19. LuckyFriday

    LuckyFriday เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    221
    ค่าพลัง:
    +1,153
    Global Sea Surface Temperatures.
    [​IMG]
    <HR width=1000>
    ภาพแผนที่แสดงความกดอากาศโดยกรมอุตุนิยมวิทยา
    [​IMG]
    ภาพถ่ายจากดาวเทียม GOES-9 IR
    [​IMG]
    ภาพถ่ายจากดาวเทียม GOES-9 IR1
    [​IMG]
    ภาพถ่ายสภาพพายุจาก Asia Satellite (Weather Channel)
    [​IMG]
    ภาพถ่ายสภาพพายุจาก East Asia Satellite (Weather Channel)
    [​IMG]
    ภาพถ่ายสภาพพายุจาก India Satellite (Weather Channel)
    [​IMG]
    ภาพแผนที่แสดงเส้นทางเดินของพายุบริเวณ North Indian
    ภาพแผนที่แสดงศักยภาพการเกิดน้ำท่วมโดย NASA (24 ชั่วโมง)
    [​IMG]
    ภาพแผนที่แสดงศักยภาพการเกิดน้ำท่วมโดย NASA (72 ชั่วโมง)
    [​IMG]
    ภาพแผนที่แสดงศักยภาพการเกิดน้ำท่วมโดย NASA (168 ชั่วโมง)
    [​IMG]
    ภาพแผนที่แสดงความกดอากาศโดย CNN

    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 2 กันยายน 2009
  20. LuckyFriday

    LuckyFriday เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    221
    ค่าพลัง:
    +1,153
    เด็กๆมากันแล้วครับระวังหนวกหูวุ่นวายไม่ได้นอนดี

    <TABLE class=CHANNEL cellSpacing=1><TBODY><TR><TH>MTSAT-1R (IR1)</TH><TH>MTSAT-1R (IR2)</TH></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TH>MTSAT-1R (IR3)</TH><TH>MTSAT-1R (IR4)</TH></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    ภาพแผนที่แสดงเส้นทางเดินของพายุบริเวณ North West Pacific
    [​IMG]
    <HR width=1000>
    ภาพแผนที่แสดงเส้นทางเดินของพายุบริเวณ North Indian
    <HR width=1000>
    ภาพแผนที่แสดงเส้นทางเดินของพายุบริเวณ South West Pacific (Australia)
    <HR width=1000>
    ภาพแผนที่แสดงเส้นทางเดินของพายุบริเวณ Atlantic Ocean
    <HR width=1000>
    Global Sea Surface Temperatures.
    [​IMG]
    <HR width=1000>
    ภาพแผนที่แสดงความกดอากาศโดยกรมอุตุนิยมวิทยา
    [​IMG]
     

แชร์หน้านี้

Loading...