ขอเชิญร่วมทำบุญสงเคราะห์พระภิกษุสงฆ์อาพาธ

ในห้อง 'ตลาด พระเครื่องเพื่อการกุศล' ตั้งกระทู้โดย พันวฤทธิ์, 29 พฤศจิกายน 2007.

  1. นายสติ

    นายสติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 มีนาคม 2007
    โพสต์:
    911
    ค่าพลัง:
    +4,285
    <TABLE style="WIDTH: 732px; HEIGHT: 2590px"><TBODY><TR><TD vAlign=top><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle><TABLE cellSpacing=5 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=messageblack vAlign=center align=middle height=20></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=messageblack vAlign=center align=middle height=20></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=messageblack vAlign=center align=middle height=20></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=messageblack vAlign=center align=middle height=20></TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle>[​IMG]</TD></TR><TR><TD class=messageblack vAlign=center align=middle height=20></TD></TR></TBODY></TABLE>
    </TD></TR><TR><TD class=message-normal style="HEIGHT: 10px" vAlign=top align=middle>
    <SCRIPT type=text/javascript>// URLs of slidesvar slideurl = new Array('http://ads.dailynews.co.th/column/images/2008/Talisman/12/6/66781_62361.jpg','http://ads.dailynews.co.th/column/images/2008/Talisman/12/6/66781_62362.jpg','http://ads.dailynews.co.th/column/images/2008/Talisman/12/6/66781_62363.jpg','http://ads.dailynews.co.th/column/images/2008/Talisman/12/6/66781_62364.jpg','http://ads.dailynews.co.th/column/images/2008/Talisman/12/6/66781_62365.jpg') ;// Comments displayed below the slidesvar slidecomment = new Array('','','','','');var picNo = new Array('0','1','2','3','4');var i;var j;var picturecontent=''function poppic(ncId,NewsType,picNum){window.open('../../html/popup_news/popup_news_popuppic.htm?' + slideurl[picNum] + '?Daily News Online : Talisman','','resizable=1,HEIGHT=200,WIDTH=200');}function createtable(){picturecontent ='<table width=100% cellSpacing=5 cellPadding=0 border=0>' ;for (i=0;i<=(slideurl.length-1);i++) {picturecontent +='<tr>' ;picturecontent +='<td vAlign=top align=center>' ;picturecontent += '';picturecontent += '[​IMG]' ;picturecontent += '</td>' ;picturecontent +='</tr>' ;picturecontent +='<tr>' ;picturecontent += '<td class=messageblack vAlign=middle align=center height=20>' ;picturecontent+=slidecomment ;picturecontent +='</td>' ;picturecontent +='</tr>' ;}picturecontent+='</table>' ;document.getElementById("hlblTable").innerHTML=''+picturecontent+'';}createtable();</SCRIPT>ขอขอบคุณข้อมูลจาก
    http://www.pra.kachon.com

    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top>
     
  2. narongwate

    narongwate เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2007
    โพสต์:
    885
    ค่าพลัง:
    +3,840
    <CENTER>อรูปฌาณ (พระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐ)


    </CENTER><HR style="COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- / icon and title --><!-- message -->[​IMG]


    พระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐ
    วัดภูทอก จ.หนองคาย

    <!-- / message --><!-- attachments --><TABLE style="BORDER-COLLAPSE: collapse" id=AutoNumber1 border=1 cellSpacing=1 borderColor=#ffffff width=330><TBODY><TR><!-- player --><TD width=317>กดที่ [​IMG] หน้าชื่อไฟล์ เพื่อรับฟังเสียงที่คุณเลือก. </TD></TR></TBODY></TABLE>
    <!-- OEF MS Player -->
    <FIELDSET class=fieldset><LEGEND>ไฟล์แนบข้อความ</LEGEND><TABLE border=0 cellSpacing=3 cellPadding=0><TBODY><TR><TD width="10%"><INPUT id=play_21238 onclick=document.all.music.url=document.all.play_21238.value; value=attachment.php?attachmentid=21238 type=radio name=Music>ฟัง</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>อรูปฌาณ ก..พระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐ.wma (4.58 MB, 111 views)</TD></TR><TR><TD width="10%"><INPUT id=play_21239 onclick=document.all.music.url=document.all.play_21239.value; value=attachment.php?attachmentid=21239 type=radio name=Music>ฟัง</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>อรูปฌาณ ข..พระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐ.wma (4.62 MB, 45 views)</TD></TR><TR><TD width="10%"><INPUT id=play_21240 onclick=document.all.music.url=document.all.play_21240.value; value=attachment.php?attachmentid=21240 type=radio name=Music>ฟัง</TD><TD>[​IMG]</TD><TD>อรูปฌาณ ค....พระอาจารย์จวน กุลเชฏโฐ.wma (4.49 MB, 43 views)</TD></TR></TBODY></TABLE></FIELDSET>
    ขอขอบคุณ
    http://audio.palungjit.org/showthread.php?t=3264
     
  3. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    [​IMG]












    สัมมาคารวะ
    โดย พระราชวิจิตรปฏิภาณ (เจ้าคุณพิพิธฯ)

    สัมมาคารวะ เป็นคำสอนที่คนโบราณสอนให้คนมีความเคารพซึ่งกันและกัน เพราะความมีสัมมาคารวะย่อมเป็นการให้เกียรติแก่ผู้อื่น และทำให้ได้รับความนิยมชมชื่น

    สัมมาคารวะ เป็นการเตือนให้ดูบุคคล โอกาส เวลา อายุ องค์ประกอบอื่นๆ ว่าสิ่งใดควรหรือไม่ควร เป็นวิจารณญาณที่พึงหัดและพึงปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอ

    สัมมาคารวะ เป็นการสอนให้ผู้น้อยพึงแสดงออกต่อผู้ใหญ่ ทั้งทางกาย วาจา ใจ อันผู้น้อยจะได้รับความนิยมชมชื่นจากผู้หลักผู้ใหญ่ เป็นการนำพาผู้น้อยไปสู่ความเจริญ

    สัมมาคารวะ มีผลคือไม่ก่อให้เกิดการวิวาทบาดหมาง ตำหนิติเตียนจากคนรอบด้าน ผู้ที่มีสัมมาคารวะย่อมเป็นผู้มีเสน่ห์ในตัว

    สัมมาคารวะ เป็นวิชาทูตที่ต้องฝึกหัด โดยมีพื้นฐานจากการสวดมนต์ไหว้พระในศาสนาของตน ผู้ใดที่ฝึกหัดบุตรธิดาให้ไหว้พระสวดมนต์ โดยยึดธรรมเนียม ทำนอง อย่างมั่นคง นั่นเป็นการวางรากฐานแห่งสัมมาคารวะให้บุตรธิดา ถ้าบุตรธิดายึดมั่นแล้ว ไปสู่แห่งหนตำบลใด พบปะกับบุคคลผู้ใด ย่อมได้รับความรักความเมตตาเสมอ

    สัมมาคารวะ เมื่อผู้ใดกระทำเป็นนิจจนติดเป็นอุปนิสัย ไม่มีอะไรที่ปรารถนาแล้วไม่ได้ ขอให้เชื่อเถิดว่า... "คนไหว้ได้ทั้งหมด คนไม่ไหว้อดทั้งชาติ"

    ที่พูดมาทั้งหมดซึ่งยังไม่หมดความหมายของคำว่า "สัมมาคารวะ" ก็เพราะเหตุว่า ในระยะเวลาปีเศษๆ ที่ผ่านมานี้ รู้สึกว่าคนเรากำลัง ขาดสัมมาคารวะอย่างแรง โดยไม่รู้ตัว ทั้งยังถลำลึกจนอาจเป็นภัยที่ร้ายแรง คลาดจากผลประโยชน์อันจะพึงมีพึงได้

    แล้วอะไรเล่าที่กล่าวว่า ขาดสัมมาคารวะ

    เมื่อกลางปีที่ผ่านมา มีนักศึกษาหญิงคนหนึ่งกำลังคิดจะผูกคอตายใต้ต้นไม้ภายในวัดสุทัศนฯ ก็คือวัดที่อาตมาจำพรรษาอยู่นี้ พอดีพระรูปหนึ่งไปพบเข้า จึงแนะนำให้มาพบอาตมา เมื่อถามแล้วได้ความว่า เธอไม่มีค่าใช้จ่ายประจำภาคการศึกษา (ค่าเทอม) พ่อแม่ยากจน อยู่ต่างจังหวัด ถ้าไม่จ่ายเงินก็ไม่มีสิทธิสอบ เงินที่ต้องจ่ายจำนวนเจ็ดพันบาท อาตมาได้ขอหมายเลขโทรศัพท์มือถือของเธอ แล้วสอบถามไปยังสถาบันที่เธอเรียน ก็ได้รับทราบว่า เป็นจริง จึงโทรศัพท์ไปหาเธอผู้นี้ แต่ทันทีที่สัญญาณโทรศัพท์ติด เสียงสัญญาณเป็นเพลงนักร้องชื่อดังคนหนึ่ง ความรู้สึกสงสารพลันดับวูบลงทันที เพราะนี่เป็นการ ไม่มีสัมมาคารวะที่ร้ายแรง แต่ก็ได้ช่วยเหลือไปตามที่ตั้งใจไว้

    เดี๋ยวนี้ชักจะเปิดกันใหญ่ เด็กเล็ก เด็กหนุ่มสาวใช้สัญญาณเพลงแทนสัญญาณรับสากล ยามผู้ใหญ่โทรศัพท์ไป ย่อมไม่ได้รับความนิยมเพราะขาดสัมมาคารวะ ผู้ใหญ่บางคนถึงกับคำรามว่า...กูไม่ได้โทรมาขอเพลง โทรมาใช้งานมึง...แล้วอะไรจะเกิดขึ้น ?

    ผู้ใหญ่บางคนก็ดันเอากับเด็กด้วย เดี๋ยวนี้ไม่เว้นกระทั่งพระเณรบางรูปทะลึ่งไปกับเขาด้วย ถ้าเป็นคนเรียกว่า "ไม่ดูสารรูป" ถ้าเป็นพระเรียกว่า "ขาดสมณสารูป"

    พูดง่ายๆ ก็คือ...ทุเรศ



    และจากเนื้อหาข้างบน พี่ใหญ่เคยบอกในกับพวกเราที่ไปประชุมกันว่า "ถ้าอยากเป็นใหญ่ต้องหัดไหว้คนให้เป็น"
     
  4. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    จะคิดเป็นใหญ่ ต้องไหว้ (คน) ให้เป็น นอกจากไหว้แล้วอย่าลืมคำนี้

    ขอบคุณครับ(ค่ะ)
    http://phuphu.exteen.com





    [​IMG]





    "ผมเริ่มขอบคุณพนักงานบริการครั้งแรก


    ก็เนื่องจากการอ่านหนังสือเป็นหนังสือชื่อ " พี่ตู้ ปณ.5 "


    ของพี่ตู้ ที่เมื่อก่อนออกทางช่อง 5


    พี่ตู้เคยบอกว่า " พนักงาน 7-11 วันหนึ่งต้องไหว้เป็นพัน ๆ ครั้งไม่นับคำสวัสดี


    และคำขอบคุณอีกนับไม่ถ้วน เขาทำเป็นกิจวัตรสมมติว่าวันหนึ่งมีลูกค้าพันคน


    เขาก็ต้องไหว้สวัสดีถึงพันครั้งแต่คนไทยจะไม่รับไหว้ เพราะขี้อาย


    และก็จะทำเป็นไม่สนใจ ผมไปซื้อของที่ 7-11 ถ้าพนักงานไหว้ ผมก็รับไหว้เขา ทักเขา"


    รูปประโยคอาจจะไม่ตรงเป๊ะ ๆ แต่นับจากวันนั้นผมก็เริ่มขอบคุณ
    ไม่ใช่แค่พนักงาน 7-11 แต่หมายถึงผู้ที่ทำหน้าที่งานบริการทุกชนิดจะเด็กส่ง
    เด็กเสริ์ฟ พนักงานอะไรก็ตามที่เขาบริการเราทุกอย่าง
    พูดถึงเวลาผมขอบคุณพนักงาน"



    จะเห็นได้ว่า ทั้งกิริยา "ไหว้" และ วาจา "ขอบคุณ" นั้น เป็นเบสิคของวัฒนธรรมไทยมาแต่อ้อนแต่ออก อย่าถือว่าเป็นการเสียเกียรติ หรือเสื่อมเกียรติ ทำเถอะ แล้วจะรูว่าตัวทิฐิสำมะคัญในกมลสันดานที่ฝังตัวมานาน จะเริ่มเบาลง และจะโน้มเข้าสู่ พรหมวิหาร 4 โดยปริยาย
     
  5. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    ดูภาพยามว่าง ดูแล้วต้องหนีให้พ้นด้วย การดูจึงจะมีประโยชน์ ส่วนวิธีการหนี ผู้เข้ามาอ่านในกระทู้นี้ รู้อยู่แล้วทำไง.....วันคืนล่วงเลย อย่าปล่อยลมหายใจให้เสียเปล่า จะนับเป็นคู่ จะดูเป็นธาตุ แล้วแต่ความชอบ เลือกเอา อย่าอยู่เฉยก้นเน้อ...


    <TABLE style="BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px" height=1 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=746 align=center bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none" align=middle width=746 bgColor=#ffffff height=1>[​IMG]
    นรกภูมิหรือขุมนรกแบบพุทธศาสนานิกายเถรวาทและมหายาน

    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none" align=middle width=746 bgColor=#ffffff height=1>


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none" align=middle width=746 bgColor=#c0c0c0 height=1><TABLE style="BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px" height=1 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=746 align=center bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none" align=middle width=746 bgColor=#ffffff height=1></TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none" align=middle width=746 bgColor=#ffffff height=1>
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none" align=middle width=746 bgColor=#c0c0c0 height=1><<- ภาพแรก ::: <- ภาพก่อนหน้านี้ ::: ภาพต่อไป -> ::: ภาพสุดท้าย ->>
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none" align=middle width=746 bgColor=#ffffff height=1></TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none" align=middle width=746 bgColor=#ffffff height=1>ภาพที่ 1-4
    ภาพที่ 1 พระยายมและนายนิริยะบาล กำลังไต่สวนผู้ที่ตายไปแล้วใหม่ๆ โดยเป็นบัญชีเล่มใหญ่ตรวจตราดูโดยละเอียดว่า ใครเมื่อครั้งเป็นมนุษย์นั้นเคยทำบุญทำทานอะไรไว้บ้าง เช่น ผู้ชายท่านก็จะเน้นว่า เคยบวชเรียนเขียนอ่านพระธรรมวินัยไตรสิขาไหม เคยอยู่ในระเบียบวินัยแค่ไหนเพียงไร ถ้าเป็นฆราวาส ท่านก็จะเน้นถามเกี่ยวกับการรักษาศีลห้า เป็นหลักสำคัญ โดยมีเลขา ฯ เปิดบัญชีอ่านอย่างละเอียด พระยายมผู้เสมือนหนึ่งผู้พิพากษานั่งบัลลังก์ คอยตัดสินพิจารณาชี้ขาดอย่างยุติธรรม ถ้าเห็นว่า บุคคลใดทำคุณงามความดี ทำบุญกุศลไว้มากเป็นพระก็เป็นพระที่ดี เป็นเณรก็เป็นเณรที่ดี เป็นประชาชนพลเมืองก็เป็นพลเมืองที่ดีของชาติ เป็นผู้มีศีลธรรมกัลยาณธรรมประจำใจว่า ผู้นั้นตอบตามความเป็นจริงหรือไม่ เพราะทางยมโลกมีบัญชีเป็นหลักฐาน ใครจะโกหกไม่ได้ มีโทษ ๒ เท่าทีเดียว

    ภาพที่ 2 ผู้ที่ขาดเมตตาธรรม มีจิตใจโหดเหี้ยมทารุณ ได้แก่ทำลายล้างผลาญ บีดบี้บีฑากันประหัตประหารเหมือนผักเหมือนปลา โดยถือว่า ตัวเองมีอำนาจ มีอิทธิพล มีพลกำลังจึงประหารหรือเบียดเบียนรังแกผู้ที่มีกำลังน้อย โดยเฉพาะอย่างยิ่งพวกสัตว์ที่มีคุณมาก เช่น ช้าง ม้า โค กระบือ ถือว่าเป็นสัตว์ใหญ่มีพระคุณต่อชาวโลกมาก ยิ่งถ้าทำด้วยจิตใจอาฆาตพยาบาทจองเวรแล้วยิ่งมีเวรมีกรรมติดต่อ เสมือนหนึ่งเงาติดตัวไปฉะนั้น

    ภาพที่ 3 ผู้ประพฤติผิดศีลข้อ ๒ อทินนาทาน เช่น ลักขโมยของพระสงฆ์ ฉ้อโกง ตลอดทั้งฉ้อราษฎร์บังหลวง และทำลายทรัพย์สินขอผู้มีพระคุณ เป็นต้น พูดง่าย ๆ ก็คือมีเจตนาลักหรือถือเอาสิ่งของผู้อื่นโดยอาการขโมย โดยที่เจ้าของไม่ได้อนุญาต คือว่า ล่วงเกินสิทธิของผู้อื่น เช่น โกงเลือกสวนไร่นา โกงแผ่นดิน โกงชาติ โกงศาสนา เป็นต้น

    ภาพที่ 4 บุรพกรรมของหมู่สัตว์นรก ผู้กระทำผิดศีลข้อ ๓ คือ ข้อ กาเมสุมิจฉาจาร คือประพฤติผิดลูกผิดเมียและผิดสามีของผู้อื่น อย่างนี้เรียกว่า ล่วงประเวณี อันเป็นที่รักที่หวงแหนของผู้ที่เป็นเจ้าของ โดยที่สุดกระทั่งผู้ที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะตามกฎหมาย เรียกว่า พรากผู้เยาว์ หรือผิดจารีตประเพณีแบบแผนโบราณ ผิดทำนองคลองธรรม เหล่านี้พระยายมต้องส่งลงนรก หรือปีนต้นงิ้วโดยไม่ต้องสงสัย ฯลฯ สรุปคือเป็นผู้มีราคตัณหามาครอบงำอย่างหนาแน่น


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none" align=middle width=746 bgColor=#ffffff height=1></TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width=746 height=1>[​IMG]


    </TD><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width=746 height=1></TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width=746 bgColor=#c0c0c0 height=1>


    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width=746 bgColor=#ffffff height=1></TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width=746 bgColor=#ffffff height=1>* นรกภูมิหรือขุมนรกแบบพุทธศาสนานิกายเถรวาทและมหายาน


    และนี่คือภาพสุดท้าย

    <TABLE height=1 width="100%" bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD colSpan=2 height=1><TABLE height=1 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=922 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left width=643 height=1><TABLE style="BORDER-TOP-WIDTH: 0px; BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; BORDER-BOTTOM-WIDTH: 0px; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px" height=1 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=918 border=0><TBODY><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" vAlign=top align=middle width=759 height=1><TABLE height=1 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=745 align=center background=../../index_images_files/bgver.gif border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width=748 height=1><TABLE style="BORDER-LEFT-WIDTH: 0px; BORDER-RIGHT-WIDTH: 0px" height=1 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=746 align=center bgColor=#ffffff border=0><TBODY><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none" align=middle width=746 bgColor=#ffffff height=1>[​IMG]
    นรกภูมิหรือขุมนรกแบบพุทธศาสนานิกายเถรวาทและมหายาน</TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none" align=middle width=746 bgColor=#ffffff height=1>
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none" align=middle width=746 bgColor=#c0c0c0 height=1><<- ภาพแรก ::: <- ภาพก่อนหน้านี้ ::: ภาพต่อไป -> ::: ภาพสุดท้าย ->>
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none" align=middle width=746 bgColor=#ffffff height=1> </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none" align=middle width=746 bgColor=#ffffff height=1>
    ภาพที่ 29
    ชาวโลกที่ชอบเจาะหาช่องว่างของกฎหมายเพื่อกระทำความทุจริตกับพวกรับจ้างฆ่าคนอย่างเลือดเย็น พวกปากหวานใจเฉือดคอคอยยุแหย่ให้คนหลงผิดฆ่าทำลายกัน และพวกรับเหมาที่เจตนาลดวัสดุ-แรงงานผิดแบบก่อสร้าง คนจำพวกนี้จิตใจชั่วช้าเลวทรามยิ่งอสรพิษ คิดเอาเปรียบผู้อื่นโดยไม่นึกถึงอะไร ตายแล้วนอกจากต้องรับกรรมทรมานตามขุมนรกต่างๆ แล้ว ท้ายสุดยังต้องถูกลงโทษทรมานในนรกขุมนี้ โดยถูกงูพิษชนิดต่างๆ เจาะร่างวิญญาณ
    </TD></TR><TR><TD style="BORDER-BOTTOM: medium none" align=middle width=746 bgColor=#ffffff height=1> </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width=746 height=1>
    [​IMG]
    </TD><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width=746 height=1> </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width=746 bgColor=#c0c0c0 height=1></TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width=746 bgColor=#ffffff height=1> </TD></TR><TR><TD style="BORDER-RIGHT: medium none; BORDER-TOP: medium none; BORDER-LEFT: medium none; BORDER-BOTTOM: medium none" width=746 bgColor=#ffffff height=1>* นรกภูมิหรือขุมนรกแบบพุทธศาสนานิกายเถรวาทและมหายาน</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 กุมภาพันธ์ 2009
  6. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    ยกวิธีหนีนรกมาให้ดูทั้งโพสท์เลย เลือกเอา....สาธุด้วยจริงๆ


    [FONT=Georgia, Times New Roman, Times, serif]ความผิด ในความถูก [/FONT]
    [FONT=Georgia, Times New Roman, Times, serif]พระโพธิญาณเถร (หลวงปู่ชา สุภัทโท)


    <TABLE width="80%" align=center><T><TBODY><TR vAlign=top><TD>๑.จะหลุดพ้นได้ต้องเริ่มจากการเห็นโทษ
    <TABLE width=175 align=left><T><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></T></TBODY></TABLE>
    ให้เอาจิตพิจารณากายนี้ให้รู้จัก เมื่อรู้จักแล้วมันก็เป็นสิ่งไม่แน่นอน เป็นของไม่เที่ยงทั้งนั้น เมื่อเห็นเช่นนี้ จิตใจของเราก็จะเกิดความเบื่อหน่าย เบื่อหน่ายในใจในกายนี้ว่าไม่แน่นอน ไม่คงเส้นคงวา ก็อยากจะหาทางออก หาทางพ้นทุกข์ เปรียบประหนึ่งนกที่อยู่ในกรง เห็นโทษว่าจะบินไปมาที่ไหนไม่ได้ ใจพะวักพะวนดิ้นรนจะออกจากกรงอันนั้น เบื่อกรงเบื่อที่อยู่ ถึงแม้ว่าจะให้อาหาร ให้มันกินอยู่ ใจมันก็ยังไม่สบาย เพราะมันเบื่อกรงที่ขังมันไว้ จิตใจเราก็เหมือนกัน เมื่อเห็นโทษ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา ในรูปในนามนี้แล้ว มันก็จะพยายามพิจารณาให้ออกจากวัฏสงสารอันนั้น


    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ๒. กราบพระ แต่ไม่เห็นพระ
    <TABLE width=175 align=left><T><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></T></TBODY></TABLE>
    คำสอนของพระพุทธเจ้านั้น ทำ คน ให้หมด ทำ พระ ให้เกิดขึ้นมา ก็คือ ทำความผิดให้มันหมดไป ความถูกจึงจะเกิดขึ้นมา ทำความชั่วให้หมดไป ความดีก็จะเกิดขึ้นมา อย่างบ้านของเรามันสกปรกไม่สะอาด ถ้าเราเอาไม้กวาดมากวาดแล้วก็เช็ดสกปรกออกมันก็สะอาด เพราะสกปรกมันหายไป ถ้าความผิดยังไม่หมด ความถูกก็เกิดขึ้นไม่ได้ นี่ถ้าเราไม่ภาวนา เราก็ไม่รู้ความเป็นจริงของธรรมะของพระพุทธเจ้ามีอำนาจมาก ถ้าทำความเปลี่ยนจิตใจไม่ได้ก็ไม่ใช่ธรรมะที่มีอำนาจ แต่ธรรมะนี้ทำปุถุชนสามัญชนให้เป็นอริยชนได้ เพราะธรรมะให้คนที่มีความเห็นผิด เกิดความเห็นถูกขึ้นมาได้
    [/FONT]


    ๓. เอาตนเองเป็นพยาน


    <TABLE width=175 align=left><T><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></T></TBODY></TABLE>
    ธรรมะนี้เปรียบเหมือนผลไม้ที่เราไปบ้านญาติบ้านเพื่อน แล้วเขาเอาผลไม้ฝากเรา เราหยิบผลไม้ไว้ในมือของเรา แต่เราก็ไม่รู้เปรี้ยว หวาน ฝาดอะไรต่างๆ คือจับผลไม้แล้วก็ยังไม่รู้รสผลไม้ จะรู้รสก็ต้องเอามาทานขบเคี้ยว จึงจะรู้ว่ามันเปรี้ยว มันหวาน มีรสชาติต่างๆ ตามสัญญาของเรา
    ธรรมะนี้ก็เหมือนกันฉันนั้น ทุกอย่างท่านให้เอาตนเองเป็นพยาน ไม่ต้องเอาคนอื่น เรื่องของคนอื่นตัดสินได้ยากลำบาก เพราะเป็นเรื่องของคนอื่น ถ้าเป็นเรื่องของเราแล้วมันง่ายที่สุด เพราะความจริงมันอยู่กับเรา มีเราเป็นพยาน ธรรมะนี้เมื่อฟังแล้วก็ต้องเอามาภาวนา ให้เป็นปริยัติศาสนา ปฏิบัติศาสนา ปฏิเวธศาสนา ปริยัติคือการเรียนรู้ รู้แล้วเอามาปฏิบัติตามก็เกิดความรู้ขึ้นมาตามความเป็นจริง ถ้าฟังเฉยๆ ก็รู้ด้วยสัญญา เอาไปพูดก็ตามสัญญา ไม่ได้พูดความจริงให้ฟัง นี่เราจึงยังไม่เข้าถึงธรรมะ ไม่สอดส่องธรรมะ ใจยังไม่เป็นธรรม ได้ทำเป็นธรรมได้ นี่เรียกว่ายังไม่สมบูรณ์แบบตามทางพุทธศาสนา
    <TABLE class=tableBorder style="TABLE-LAYOUT: fixed" cellSpacing=1 cellPadding=3 align=center><TBODY><TR><TD class=msgOddTableRow vAlign=top></TD></TR><TR class=msgOddTableRow><TD class=msgLineDevider vAlign=top height=150><!-- Start Member Post -->
    ๔. บรรลุความจริงคือบรรลุธรรม


    <TABLE width=175 align=left><T><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></T></TBODY></TABLE>การบรรลุธรรมะ การตรัสรู้ ถ้าเราคิดไปก็ดูเหมือนว่าเป็นของสูงเกินไป ไม่ควรจะเอามาพูดว่าเราบรรลุธรรม ความเป็นจริงก็คนเหมือนเรานี่แหละเสมอแล้วที่จะบรรลุธรรมได้ บรรลุธรรมก็คือ เข้าใจว่าอันนี้เป็นบาป คือมันผิด ไม่เกิดประโยชน์ตนและคนอื่นทั้งนั้น เข้าใจชัดเจนเช่นนี้เรียกว่าเราบรรลุธรรม ซึ่งเป็นทางที่ควรละ คือการรู้แจ้งธรรมะ เช่นเราเดินไปท่าน้ำ จะบรรลุท่าน้ำหรือท่าเรือก็เมื่อไปถึงท่าน้ำท่าเรือแล้วนั้นเอง ถ้าขึ้นมาถึงศาลาเราก็เรียกว่าเราบรรลุศาลาแล้ว ถ้าเรารู้จักความเป็นจริงที่ถูกต้อง ก็เรียกว่าเราบรรลุความจริง บรรลุธรรม เมื่อบรรลุธรรมะแล้ว กิเลสทั้งหลาย มันก็สร่างไป ลดไป เมื่อมีความเห็นชอบ ความเห็นผิดมันก็เลิกไปเป็นธรรมดา
    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE width="80%" align=center><TBODY><TR vAlign=top><TD>
    ๕. สำรวจที่ตนเอง


    <TABLE width=175 align=left><T><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></T></TBODY></TABLE>ความอยากนั้นมันอยู่ที่จิต เหมือนชาวประมงออกไปทอดแห พอได้ปลาก็รีบตะครุบ ปลามันก็กลัว คนกลัวปลาจะออกจากแห เมื่อเป็นอย่างนั้น ใจมันสับสน บังคับมันมาก เดี๋ยวปลามันก็ออกจากแห
    โบราณจึงให้ค่อยๆ คลำมันไป ทำไปเรื่อยๆ ขี้เกียจก็ทำ ขยันก็ทำ ทำไปมากๆ ถูกทาง ความสงบมันก็ระงับ การปฏิบัติท่านให้ไปเรื่อยๆ อย่าหยุด ขยันก็ทำ ขี้เกียจก็ทำ แต่ปฏิบัติเหมือนบุรุษสีไฟ เดี๋๊่ยวหยุด เดี๋ยวทำ ใจร้อนมันก็ไม่สำเร็จเพราะใจมันร้อน
    การภาวนาการปฏิบัติไม่ต้องคิดอะไรมาก ให้สำรวจที่ตนเอง ไม่ต้องไปสำรวจที่อื่น ถ้าเราเห็นตัวเรา เราก็เห็นคนอื่น เหมือนยาทันใจกับยาปวดหาย เพราะมันมีลักษณะโรคอันเดียวกันคือยาแก้ปวด คนที่ปฏิบัติกับคนเรียนนั้น ชอบโทษกัน เหมือนกับการที่เราหงาย-คว่ำฝ่ามือ ซึ่งมันไม่ได้อยู่ที่ไหนหรอก มันอยู่ของมันตรงนั้นแหละ แต่เรามองไม่เห็น การเรียนแล้วไม่ปฏิบัติ เราก็จะไม่รู้ความเป็นจริง จะทำให้หลงไป
    </TD></TR><TR vAlign=top><TD>
    ๖. เลือกที่ตรงจิต




    <TABLE width=175 align=left><T><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></T></TBODY></TABLE>การพิจารณากรรมฐานให้เลือกดูว่าอะไรมันถูกจริตเรา เหมือนกับอาหารในสำรับกับข้าว เราเองพิจารณาเลือกว่าอะไรมันถูกกับธาตุกับขันธ์ของเรา เหมือนกับเราเลือกพิจารณากรรมฐานว่าอะไรมันถูกกับเรา ลมเข้าออก หรือพิจารณาสังขาร หรือลมเข้าลมออก
    การทำความเพียรให้ทำไปเรื่อยๆ เหมือนน้ำหยดในโอ่งเรื่อยไม่แห้ง สัตว์ที่อยู่ในโอ่งก็ไม่ตาย น้ำก็ไม่แห้ง ถ้าเราพิจารณาธรรมเรื่องความไม่เที่ยง เรื่องอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา เมื่อเราเข้าใจก็เหมือนกับเราคลายเกลียวน๊อตไปทางซ้าย มันก็ไม่แน่นก็เลยทำให้เราไม่ยึดมั่นถือมั่นในอนิจจัง ทุกขัง อนัตตา


    ๗. ทุกข์เพราะไม่ยอมปล่อย


    <TABLE width=175 align=left><T><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></T></TBODY></TABLE>คนถ้าไม่ทุกข์ไม่ลืมตา ถ้ามันสุขมันดับสนิทขี้เกียจไปเลย ทุกข์มันแทงขึ้นมาให้มีความคิดมาก ให้ขยายตัวขึ้นมาก ยิ่งมีความทุกข์มาก ทุกข์มันเกิดมาเพราะอะไรต้องดูมัน ไม่ใช่นั่งให้มันหมดทุกข์เฉยๆ บัดนี้ฉันหนักแล้วเพราะอะไร เพราะยกแก้วขึ้นมามันถึงหนัก ถ้าปล่อยมันเฉยๆ แก้วนี้ก็ไม่หนัก หนักก็ไม่ปรากฏกับเรา เพราะเราไม่ได้ไปสัมพันธ์กับมัน มันก็ไม่หนัก เรื่องทุกข์มันเป็นอย่างนั้น แล้วทำไมมันถึงหนัก ทำไมมันถึงทุกข์ เพราะไปจับทุกข์มาไว้ แต่เราไม่เข้าใจว่าทุกข์ ว่าทุกข์นั้นจะเป็นของประเสริฐ ว่าทุกข์จะเป็นของดี ให้วางก็วางไม่ได้ ให้ปล่อยก็ปล่อยไม่ได้ ก็หนักอยู่อย่างนั้น ก็ทุกข์อยู่อย่างนั้น


    </TD></TR></TBODY></TABLE>

    ๘. แยกแล้วยุ่ง


    <TABLE width=175 align=left><T><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></T></TBODY></TABLE>
    ตัวปัญญากับสมาธินี้ เมื่อเราพูดแยกกันออกคล้ายๆ กับคนละคน จริงๆแล้วมันตัวเดียวกันนั้นแหละ ตัวปัญญามันเป็นเครื่องเคลื่อนไหวของสมาธิเท่านั้น อือ มันออกมาจากจิตนี่แหละ แต่มันแยกกันออกไป
    มันเป็นคนละลักษณะ เหมือนมะม่วงใบนี้ ลูกมะม่วงใบนี้มันเล็กๆ แล้วมันก็โตขึ้นมาอีก แล้วมันก็สุก แล้วมันก็จะเน่า... มะม่วงใบนี้ก็คือมะม่วงใบเดียวกัน... มันเล็กก็ใบนี้ มันโตขึ้นมันก็ใบนี้ มันสุกก็ใบนี้ แต่มันเปลี่ยนลักษณะ อาการอย่างหนึ่งท่านเรียกว่า สมาธิ อาการอบ่างหนึ่งท่านเรียกว่าปัญญา ความเป็นจริง ศีล สมาธิ ปัญญา นี่! คือของอันเดียวกัน ไม่ใช่คนละอย่าง เหมือนมะม่วงใบเดียวกัน


    ๙. ศึกษาให้รอบ


    <TABLE width=175 align=left><T><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></T></TBODY></TABLE>
    มีดเล่มนี้วางอยู่นี่ มันมีทั้งคมมัน มันมีทั้งสันมัน นั่นนะ มันมีทั้งด้ามมันทุกอย่าง เราจึงยกมีดนี้มันขึ้นมา จะเอาแต่คมมันขึ้นมาได้ไหม จะจับมีดเล่มนี้ขึ้นมาแต่สันได้ไหม เอาแต่ด้ามมันขึ้นได้ไหม ด้ามมันก็ด้ามมีด สันก็สันมีด คมก็คมของมีด เมื่อเราจับมีดเล่มนี้ขึ้น มันก็เอาด้ามขึ้นมาด้วย เอาสันขึ้นมาด้วย เอาคมมันขึ้นมาด้วย มันจะแบ่งแต่คมมันได้ไหม
    อย่างนี้ เป็นตัวอย่างอย่างนี้ เราจะไปยกแต่สิ่งที่มันดี ชั่วมันก็ติดขึ้นไปด้วย เพราะเราหาแต่สิ่งที่มันดี สิ่งที่มันชั่วเราจะทิ้งมันไป เราไม่ได้ศึกษาว่ามีสิ่งที่ไม่ดีไม่ชั่ว ไม่ศึกษา มันอยู่ตรงนั้น อย่างนั้นมันก็ไม่จบ เอาดีไป ชั่วก็ตาม มันตามอยู่อย่างนี้ ถ้าเราเอาสุข ทุกข์ก็ตาม มันติดต่อกันอยู่



    ๑๐. น้ำไหลนิ่ง


    <TABLE width=175 align=left><T><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></T></TBODY></TABLE>
    เหมือนน้ำในกาน้ำ ปล่อยน้ำให้มันไหลลงหยดต๋อมๆ นี่ ! สายน้ำมันขาด เราก็เร่งกาให้มาก น้ำมันก็ไหล ต๋อมๆ ต๋อม ๆ ต๋อมๆ เร่งเข้าไปอีก หายต๋อมเลยทีนี้ สายน้ำติดกัน กลายเป็นสายน้ำเลย หยดแห่งน้ำไม่มี ไปไหนล่ะ มันไม่ได้ไปไหนหรอก มันกลายเป็นสายน้ำ มันถี่จนเกินถี่เลยติดกันซะใช่ไหม ! มันเลยกลายเป็นสายน้ำ ดังนี้

    ธรรมะมีเรื่องเดียวอย่างนี้
    โยมรู้จักน้ำมันไหลไหม น้ำไหลโยมรู้จักไหม เคยรู้จักไหม น้ำมันไหลๆ น้ำนิ่งโยมเคยรู้จักไหม อือ! ถ้าใจเรามันสงบแล้วมันจะเป็นคล้ายๆ น้ำมันไหลนิ่ง โยมเคยเห็นน้ำมันไหลนิ่งไหม แน่! ก็โยมเห็นแต่น้ำนิ่งกะน้ำไหลนี่ น้ำไหลนิ่งโยมไม่เคยเห็นนี่ ตรงนั้นแหละตรงโยมยังไม่คิดล่ำ ว่ามันเฉยมันก็เกิดปัญญา เรียกว่าดูใจของโยมมันจะคล้ายๆ น้ำมันไหล แต่ว่ามันนิ่ง ดูมันนิ่งแต่ว่ามันไหล เลยเรียกว่า
    น้ำไหลนิ่ง



    ขอขอบคุณเป็นอย่างสูงสำหรับผู้จัดทำ

    http://images.google.co.th/imgres?i...0%B8%A1%E0%B8%90%E0%B8%B2%E0%B8%99&hl=th&sa=G
     
  7. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    มีคนใจดีรวบรวมลิงค์หลวงพ่อชาไว้ให้ หาความรู้เอา หาทางหนีเอา

    [​IMG]


    Search Results

    1. <LI class=g>วัดหนองป่าพง หลวงพ่อชา สุภัทโธ วัดหลวงพ่อชา แหล่งท่องเที่ยว ...

      - [ Translate this page ] หลวงพ่อชา สุภทโท วัดหนองป่าพง อุบลราชธานี เป็นผู้มีจิตฝึกใฝ่ในธรรมตั้งแต่เด็ก ศึกษาปริยัติธรรมและ วิปัสสนาจากหลายสำนัก ท้ายสุดเดินทางจารึกไปพบ หลวงปู่มั่น ...
      <CITE>www.southlaostour.com/index.php?lay=show&ac=article&Id=<WBR>538669284&Ntype=12 - 72k - </CITE>Cached - Similar pages


      <LI class=g>ผงนากปรกหลวงพ่อชา สุภัคโท - 0.00 - ผงนากปรกหลวงพ่อชา สุภัคโท วัด ...

      - [ Translate this page ] ผงนากปรกหลวงพ่อชา สุภัคโท วัดหนองป่าพง จังหวัดอุบลราชธานี สร้างจากผงผสมว่านและ<WBR>เกศา ของหลวงพ่อ ป้อมได้มาสภาพดีดูง่าย สนใจติดต่อ ป้อม 09-1231800 ...
      <CITE>www.eamulet.com/product.detail_102457_th_266916 - 102k - </CITE>Cached - Similar pages


      <LI class=g>ธรรมสนุกๆจากหลวงพ่อชา [เอกสารเก่า] - บ้านมหา การศึกษา ศิลปะ ...

      - [ Translate this page ] [เอกสารเก่า] ธรรมสนุกๆจากหลวงพ่อชา มุมธรรมะรักษาจิต.
      <CITE>www.baanmaha.com/forums/archive/index.php/t-19704.html - 8k - </CITE>Cached - Similar pages


      <LI class=g>หลวงพ่อชา สุภัทโท ( เสียง )

      - [ Translate this page ] Free Web space and hosting from freehomepage.com. Search the Web.
      <CITE>beautifulman.freehomepage.com/page10.html - 11k - </CITE>Cached - Similar pages


      <LI class=g>อยู่เพื่ออะไร (1) หลวงพ่อชา |

      - [ Translate this page ] วิทยุเสียงแห่งธรรม "บ้านพี่พลอย". เชิญเลือกรับฟังเทศน์-ฟังธรรม เพื่อความเป็นสิริ<WBR>มงคลของชีวิตค่ะ. คลิ๊กที่นี้ เพื่อเลือกรับฟังเรื่องอื่นๆ ต่อไปค่ะ ...
      <CITE>bannpeeploy.exteen.com/20070926/entry-2 - 95k - </CITE>Cached - Similar pages


      <LI class=g>การปฏิบัติที่ให้ผลเร็ว(หลวงพ่อชา) : หนังสือ การปฏิบัติที่ให้ผลเร็ว ...

      - [ Translate this page ] จำนวน, : 0 หน้า. ขนาดรูปเล่ม, : 0 x 0 x 0 มม. น้ำหนัก, : 48 กรัม. เนื้อในพิมพ์, : -ไม่ระบุ. ชนิดปก, : -ไม่ระบุ. ชนิดกระดาษ, : -ไม่ระบุ. หน่วย, : เล่ม ...
      <CITE>www.se-ed.com/eShop/...d7SGKIlMdTzI01))/Products/Detail.aspx?No=<WBR>2224130000121 - 51k - </CITE>Cached - Similar pages


      <LI class=g>พื้นฐานของการปฏิบัติธรรม : พระโพธิญาณเถร (หลวงพ่อชา สุภทฺโท)

      - [ Translate this page ] พื้นฐานของการปฏิบัติธรรม : พระโพธิญาณเถร (หลวงพ่อชา สุภทฺโท)
      <CITE>www.dhammakid.com/board/index.php?topic=1940.0 - 24k - </CITE>Cached - Similar pages


      <LI class=g>พระสงฆ์ - ประวัติหลวงพ่อชา สุภทฺโท

      - [ Translate this page ] พระสายกรรมฐาน, ประวัติหลวงพ่อชา สุภทฺโท วัดหนองป่าพง ตำบลโนนผึ้ง อำเภอวารินชำราบ จังหวัดอุบลราชธานี.
      <CITE>www.sangha.kroophra.net/index.php?option=com_content&task=view&id=<WBR>155&Itemid=26 - 80k - </CITE>Cached - Similar pages


      <LI class=g>[DOC] คำสอนหลวงพ่อชา สุภัทโท

      - [ Translate this page ] File Format: Microsoft Word - View as HTML
      คำสอนหลวงพ่อชา สุภัทโท. เธอจงระวังความคิดของเธอ. เพราะความคิดของเธอจะกลายเป็น<WBR>ความประพฤติของเธอ. เธอจงระวังความประพฤติของเธอ ...
      <CITE>www.sau.ac.th/qa/upload/journal/หลวงพ่อชา%20สุภัทโท.doc - </CITE>Similar pages
    2. ธรรมะจากหลวงพ่อชา

      - [ Translate this page ] เก็บตกธรรมะจากครูบาอาจารย์. 1. DSC00956.jpg ... 3. The word page1 4. The word page2 5. หลวงพ่อทูล ... 6. ธรรมะจากหลว... 7. หลวงปู่มั่น 8. พระเถรี 9. ...
      <CITE>gallery.watsanfran.com/main.php?g2_itemId=1165 - 24k - </CITE>Cached - Similar pages
    <TABLE id=nav style="MARGIN: auto auto 1.4em; DIRECTION: ltr; BORDER-COLLAPSE: collapse; TEXT-ALIGN: center" align=center><TBODY><TR vAlign=top><TD class=b>Previous<TD>1 <TD>2 <TD class=cur>3 <TD>4 <TD>5 <TD>6 <TD>7 <TD>8 <TD>9 <TD>10 <TD>11 <TD>12 <TD class=b>Next</TD></TR></TBODY></TABLE>​
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 กุมภาพันธ์ 2009
  8. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    <TABLE cellSpacing=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top><!--Last Update : 2 กรกฎาคม 2551 13:46:43 น.-->พระพุทธประวัติ ตอนที่ ๙๙ | ศากยะราช ๖ พระองค์ออกบวช

    ศากยะราช ๖ พระองค์ออกบวชพร้อมกัน

    วันหนึ่ง พระบรมศาสดาเสด็จจาริกมายังมหาชนบท ประทับอยู่ที่อนุปิยะอัมพวันใกล้บ้านอนุปิยะมลานิคม แขวงเมืองพาราณสี ครั้งนั้น เจ้าศากยะพระนามว่า มหานามะ ผู้เป็นพระโอรสของพระเจ้าอมิโตทนะ ผู้เป็นพระเจ้าอาของพระบรมศาสดา เข้าไปหาพระอนุรุทธะ ผู้เป็นอนุชา ทรงปรารภว่า
     
  9. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097

    ภูมิพโลภิกขุระหว่างเสด็จพระราชดำเนินทอดพระเนตรบริเวณองค์พระปฐมเจดีย์ <!--MsgFile=15-->


    <CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER><CENTER>นางสาวอุทัยวรรณ เทพจินดา รองนางสาวไทย ระหว่างรอคอยการเสด็จพระราชดำเนิน

    </CENTER><!--MsgFile=17--><CENTER></CENTER><CENTER><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 border=0><TBODY><TR><TD><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" bgColor=#222244 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    ภาพเก่าทั้งหมดนำมาจากเวบข้างล่างนี้ ภาพเก่าเหล่านี้เป็นภาพน่าประทับใจ และน่าเก็บไว้ แนะนำให้เข้าไปดูกันครับ



    พระราชกรณียกิจในวันที่ 10 แห่งการทรงพระผนวช
    วันพุธที่ 31 ตุลาคม 2499
    วันนี้ หลังจากเสวยพระกระยาหารเช้า เสด็จลงพระอุโบสถทรงทำวัตรเช้าแล้วพระภิกษุพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชดำเนินไปทรงรับบิณฑบาต ที่ทำเนียบรัฐบาล ณ ที่นั้น จอมพล ป. พิบูลสงคราม นายกรัฐมนตรี พร้อมด้วยคณะรัฐมนตรีและข้าราชการชั้นผู้ใหญ่ เฝ้าทูลละอองธุลีพระบาทถวายอาหารบิณฑบาต
    ภายหลังจากเสด็จพระราชดำเนินกลับมาถึงวัดบวรนิเวศวิหารแล้ว สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ เสด็จพระราชดำเนินมาเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท หลังจากนั้นสมเด็จพระราชชนนีเสด็จพระราชดำเนินมาเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท
    ในตอนเย็น เสด็จลงพระอุโบสถทรงทำวัตรเย็น เสร็จแล้วทรงสดับธรรมะ เรื่อง
     
  10. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    [​IMG]
    ในหลวงทรงถวายโอสถแด่หลวงปู่ขาว อนาลโย


    ประสบการณ์อภินิหารของหลวงปู่ขาวต่อในหลวงและพระราชินี

    เจ้าประคุณท่านพระอาจารย์ขาว อนาลโย หรือที่เป็นที่เคารพสักการะเลื่อมใสกันในนามสั้นๆ ว่า
     
  11. คีตา

    คีตา เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    665
    ค่าพลัง:
    +4,309
  12. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    "...พระพุทธศาสนาชี้ทางดำเนินชีวิตที่ปราศจากโทษ
    ช่วยให้เกิดความเจริญร่มเย็น ได้อย่างแท้จริง
    เพราะมีคำสั่งสอนที่ มีลักษณะพิเศษประเสริฐ
    ในประการอาศัย เหตุผลอันถูกต้องเที่ยงตรง
    ตามความ เป็นจริง เป็นพื้นฐาน
    เป็นประโยชน์แท้จริงแก่ทุกคน..."



    พระราชดำรัส พระราชทานเพื่อเชิญไปอ่านใน
    การเปิดประชุมใหญ่ของสมาคมพุทธศาสนา
    ทั่วราชอาณาจักร ณ วิทยาลัยครูจันทบุรี 6 ธันวาคม 2518

    ................................................................


    "...พระพุทธศาสนา บริบูรณ์ด้วยสัจธรรมที่เป็นสาระ
    และเป็นประโยชน์ในทุกระดับ
    แต่จะต้องศึกษา ให้มีความรู้ความเข้าใจและปฏิบัติ
    ให้เหมาะสมแก่ภาวะปัจจุบัน
    ด้วยศรัทธาและปัญญา ที่ถูกต้อง
    จึงจะเกิดเป็นประโยชน์ขึ้นได้..."



    พระบรมราโชวาท พระราชทานเพื่อเชิญไปอ่าน
    ในการเปิดประชุมใหญ่
    สมาคมพุทธศาสนาทั่วราชอาณาจักร
    ณ จังหวัดกาฬสินธุ์ 17 ธันวาคม 2512

    ................................................................


    "...พระพุทธศาสนา แสดงความจริงของชีวิต
    แสดงทางปฏิบัติที่จะให้บรรลุความสุขสูงสุดของชีวิต
    มีวิธีการสั่งสอนที่ยึดหลักเหตุและผลว่า
    ทุกสิ่งเกิดจากเหตุ ผู้ใดประกอบเหตุอย่างไร
    เพียงใด ก็ได้ผลอย่างนั้นเพียงนั้น..."



    พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่พุทธ
    สมาคมแห่งประเทศไทย 26 พฤศจิกายน 2513

    http://www.dhammajak.net/board/viewtopic.php?t=3048&sid=eee5a9b858f9bdddefee3de935a6be37
     
  13. pon98

    pon98 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    632
    ค่าพลัง:
    +3,886
    วันนี้ขอนำภาพพระที่จะแจกให้กับท่านที่มาทำบุญกับทุนนิธิฯในวันอาทิตย์ที่22กุมภาพันธ์นี้ที่โรงพยาบาลสงฆ์ โดยจะได้ทุกท่านหรือไม่ต้องขอดูพระที่เหลืออยู่กับจำนวนคนวันนั้นก่อน ผู้รู้เช็คว่าเป็นพระสมเด็จที่หลวงพ่อเงิน วัดบางคลานอธิษฐานไว้ทั้งสองพิมพ์ครับ

    <CENTER>[​IMG]</CENTER><CENTER> </CENTER><CENTER><CENTER>[​IMG]</CENTER></CENTER>
     
  14. pon98

    pon98 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    632
    ค่าพลัง:
    +3,886
    ทางทุนนิธิฯได้หล่อพระขึ้นมาจำนวนหนึ่งไม่มากนักเมื่อปี2551โดยพระทั้งหมดได้แบ่งเป็นสองประเภทคือ 1สำหรับบรรจุกรุเพื่อสืบศาสนา และ 2สำหรับแจกแด่ผู้ที่ทำบุญกับทุนนิธิฯเป็นประจำ โดยแบ่งเป็นสองพิมพ์ คือพิมพ์ฐานบัวใหญ่ไว้สำหรับบรรจุกรุ และ พิมพ์ฐานบัวเล็กไว้แจกผู้ร่วมทำบุญ

    สำหรับรายละเอียดความ พิเศษ และ วิเศษ ของพระทุนนิธิฯนี้ไว้ใกล้ถึงเวลาแจกคือประมาณเมษายนวันปีใหม่ไทยๆ จะให้พี่พันวฤทธิ์มาเล่าอีกทีครับ มาชมภาพพระทุนนิธิฯที่ทางทุนนิธิฯได้ทยอยบรรจุกรุไปแล้วหลายที่กัน

    พิมพ์ฐานบัวใหญ่ (ไว้บรรจุกรุ)


    <CENTER>[​IMG]</CENTER><CENTER></CENTER><CENTER>[​IMG]</CENTER><CENTER></CENTER><CENTER></CENTER>
    พระนี้ได้ต้นแบบมาจากพระเชียงแสน พระพักตร์และรูปแบบศิลปจะโบราณ หล่อโดยไม่ขัดแต่งพิมพ์ผิวพระจึงมีรูพรุนตามธรรมชาติ บางองค์ผิวแก่ทอง บางองค์ก็มันวาวเป็นเนื้อเงินกลับดำเป็นบางองค์ครับ
     
  15. pon98

    pon98 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 สิงหาคม 2005
    โพสต์:
    632
    ค่าพลัง:
    +3,886
    พิมพ์ฐานบัวเล็ก สำหรับแจกผู้ร่วมบริจาคทำบุญอย่างต่อเนื่อง พระนี้ท่านอาจารย์ประถมได้สัมผัสแล้วขณะเพิ่งหล่อออกมาใหม่ๆยังไม่เสร็จพิธีกรรมการสร้างและเสก ทราบถึงความวิเศษขององค์พระด้านเมตตาจึงได้ให้ชื่อพระนี้ว่า พระปิยะบารมี (หมายความว่าเป็นที่รักของคนทั่วหล้า)

    [​IMG]
    [​IMG]

     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 14 กุมภาพันธ์ 2009
  16. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097

    ก็คงต้องขอแก้ไขจากของคุณโสระครับ พระที่แจกฟรีให้ที่ รพ.สงฆ์ ในวันที่ 22/2 จะเป็นเหมือนกับปัจจุบันที่เรียกว่า "พิมพ์เจ้าสัว"ของท่านหลวงปู่บุญข้างต้น ส่วนที่แจกให้เฉพาะบนรถที่จะเดินทางไปทัวร์ธรรมะนอกสถานที่จำนวน 25 คน จะเป็นพระพิมพ์ที่ปัจจุบันเรียกว่าเป็นพระพิมพ์ของหลวงพ่อเงินตามที่คุณโสระโพสท์ไว้พิมพ์ใดพิมพ์หนึ่งครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 กุมภาพันธ์ 2009
  17. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097

    รายละเอียดชนวนหล่อพระ เท่าที่ลงให้คือแผ่นยันต์ต่างๆ แต่ที่ไม่ลงให้ดูคือทองคำแท้ๆ น้ำหนักประมาณ 8 บาท ซึ่งบางองค์จะแก่ทองคำมาก ใครโชคดีก็ได้ไป นี่ล่ะทำไว้แจกกันฟรีๆ

    http://www.vcharkarn.com/vblog/34941/22
    http://www.vcharkarn.com/vblog/34941/23
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 15 กุมภาพันธ์ 2009
  18. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    วันนี้คณะกรรมการจะประชุมเพื่อเตรียมงานกิจกรรมประจำเดือนกุมภาพันธ์ 2552 โดยมีกำหนดการเบิกจ่ายปัจจัยในบัญชีบุญของทุนนิธิฯ ในการทำบุญครั้งนี้คร่าวๆ และวาระอื่นๆ ดังนี้

    1. รพ.สงฆ์ ประมาณการจำนวนพระไว้ที่ 200 องค์เช่นเดิม

    - ถวายสังฆทานอาหาร 5,000.-บาท
    - ถวายบริจาคซื้อโลหิต 10,000.-บาท
    - ถวายบริจาคซื้อเวชภัณฑ์ส่วนกลาง 10,000.-บาท

    รวมประมาณการที่จะบริจาคและถวายสังฆทานให้ รพ.สงฆ์ 25,000.-

    2. รพ.ส่วนภูมิภาค

    ภาคเหนือ
    - รพ.มหาราช (สวนดอก) จ.เชียงใหม่ 5,000.-บาท
    - รพ.สมเด็จพระยุพราช (ปัว) จ.น่าน 5,000.-บาท
    ภาคอีสาน (อีสานเหนือ/อีสานใต้)
    - รพ.ศรีนครินทร์ จ.ขอนแก่น (ผ่านกองทุนหลวงปู่เทสก์) 5,000.-บาท
    - รพ.50 พรรษามหาวชิราลงกรณ จ.อุบล 5,000.-บาท
    ภาคตะวันตก
    - รพ.แม่สอด จ.ตาก 5,000.-บาท
    ภาคใต้
    - รพ.สงขลา จ.สงขลา 5,000.-บาท

    รวมประมาณการการบริจาคสำหรับ รพ.ภูมิภาคทั้ง 6 แห่ง 30,000.-บาท

    3. เครื่องดูดเสมหะ

    - ในเดือนนี้ รพ.แต่ละแห่งยังไม่แจ้งความจำนงมาจึงยังไม่มีการบริจาค

    4. กิจกรรมเสริมประจำเดือน

    - แจกพระพิมพ์เจ้าสัวที่ผ่านการตรวจแล้วยืนยันการอธิษฐานฤทธิ์โดยท่านเจ้าประคุณสมเด็จฯ ให้กับผู้ที่ไปทำบุญฟรี ท่านละ 1 องค์
    - หลังจากทำบุญเสร็จจะไปทัวร์ธรรมะ ที่ จ.อยุธยา โดยจะนำไปกราบและถวายสังฆทานกับพระอริยสงฆ์ที่ผ่านการสกรีนโดย "ตาใน" ของฌาณลาภีบุคคลว่าท่านไม่มาเกิดอีกแล้ว ราว 2 รูป และพระพุทธปฏิมาที่สำคัญอีก 3-4 องค์ โดยรถบัส 25 ที่นั่ง 1 คัน (หากใครจะขับรถตามไปก็ไม่รังเกียจเช่นกัน)
    และคณะกรรมการฯ จะได้มอบพระพิมพ์ตัด 5 หรือ ต้ด 9 ที่ผ่านการอธิษฐานฤทธิ์ จากท่านหลวงพ่อเงินวัดบางคลาน จ.พิจิตร ให้คนละองค์ สำหรับ 25 ที่นั่งทุกคน
    - ให้บูชาพระดีที่ผ่านการตรวจแล้วว่าใช้ได้ แขวนท่านหรือบูชาท่านแล้วจะเจริญในราคาพิเศษไม่เกิน 200.-เพื่อเข้าสมทบทุนกับทุนนิธิฯ.

    5. เรื่องอื่นๆ

    - นโยบายและผลกระทบจากการจัดระเบียบห้องพระเครื่อง-วัตถุมงคลใหม่ ของเวบพลังจิต
    - เตรียมการแจกพระ "กำลังใจ 2"
    - เรื่องอื่นๆ ที่จะมีผู้นำเสนอ

    และหากมีความคืบหน้าประการใดแล้ว ไม่เย็นนี้ ก็พรุ่งนี้ จะประชาสัมพันธ์ให้ทราบต่อไปครับ

    พันวฤทธิ์
    15/2/52

     
  19. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097
    [​IMG]

    บุคคลมีหน้าที่รักษาไว้ซึ่งชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์

    พระบรมสัตยาธิฏฐานของสมเด็จพระนเรศวรมหาราช

    "พระบาทสมเด็จพระนเรศวรเป็นเจ้า จึงตรัสประกาศแก่เทพยดาทั้ง ปวงว่า ให้บังเกิดมาในประยูรมหาเศวตฉัตร จะให้บำรุงพระวงพุทธศาสนาไฉนจึงมิช่วยให้สว่างและเห็นเข้าศึกเล่า พอตกพระโอษฐ์ลง พระพายก็พันควันอันเป็นหมอกมืดนั้นสว่างไป ทอดพระเนตรเห็นช้างเศวตฉัตร ๑๖ ช้าง มีช้างดั้งช้างกันยืนอยู่เป็นอันมาก..."

    (พระราชพงศาวดารกรุงศรีอยุธยา เล่ม ๑ ฉบับพระจักรพรรดิพงศ์ (จาด), องค์การค้าของคุรุสภา, ๒๕๓๓, หน้า ๒๐๗)


    น้ำพระทัยและพระราชดำรัสของสมเด็จพระนารายณ์มหาราช

    "พระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ จะให้เราเข้ารีตดังนั้นหรือ เรื่องนี้เป็นเรื่องใหญ่มาก เพราะในราชวงศ์ของเราก็ได้นับถือพระพุทธศาสนามาช้านานแล้ว จะให้เราเปลี่ยนศาสนาอย่างนี้เป็นการยากอยู่ และถ้ำาพระเจ้าผู้สร้างฟ้าสร้างดินจะต้องการให้คนทั่วโลกได้นับถือศาสนาอันเดียวกันแล้ว พระเจ้ามิจัดการให้เป็นเช่นนั้นเสียแล้วหรือ ?"

    "จริงอยู่เมื่อฟอลคอน ในเวลาหมอบอยู่ข้างพระบาทพระเจ้ากรุงสยามได้แปลคำชักชวนที่พระเจ้าหลุยส์ที่ ๑๔ ได้รับสั่งมากับราชทูตนั้น ฟอลคอนก็กลัวจนตัวสั่นและสมเด็จพระนารายณ์ทรงพระกรุณาให้อภัยแก่ฟอลคอนแต่ก็ได้รับสั่งว่า ได้ทรงนับถือศาสนาอันได้นับถือต่อๆ กันมาถึง ๒,๒๒๙ ปี แล้ว เพราะฉะนั้นที่จะให้พระองค์เปลี่ยนศาสนาเสียนั้นเป็นการที่พระองค์จะทำไม่ได้"

    (ประชุมพงศาวดาร เล่ม ๑๖ องค์การค้าของคุรุสภา ๒๕๐๗ หน้า ๒๓- ๒๔)


    น้ำพระทัยของสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช

    อันตัวพ่อ ชื่อว่า พระยาตาก
    ทนทุกข์ยาก กู้ชาติ พระศาสนา
    ถวายแผ่นดิน ให้เป็น พุทธบูชา
    แด่พระศาสดา สมณะ พระพุทธโคดม
    ให้ยืนยง คงถ้วน ห้าพันปี
    สมณะพราหมณ์ชี ปฏิบัติ ให้พอสม
    เจริญสมถะ วิปัสสนา พ่อชื่นชม
    ถวาบยังคม รอยบาท พระศาสดา
    คิดถึงพ่อ พ่ออยู่ คู่กับเจ้า
    ชาติของเรา คงอยู่ คู่พระศาสนา
    พุทธศาสนา อยู่ยง คู่องค์กษัตรา
    พระศาสดา ฝากไว้ ให้คู่กัน

    (จารึกในศาลพระเจ้าตากสินมหาราช วัอรุณราชวราราม)


    พระราชปณิธานในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช

    "ตั้งใจจะอุมถัมภก ยอยกพระพุทธศาสนา
    จะป้องกันขอบขัณฑสีมา รักษาประชาชนและมนตรี"

    (พระราชนิพนธ์นิราศท่าดินแดง)

    "แล้วมีพระราชโองการปฏิสันถารแก่เจ้าพระยาและพระยาทั้งปวงว่า "สิ่งของทั้งนี้จงจัดทำนุบำรุงไว้ให้จงดี จะได้ป้องกันรักษาแผ่นดิน ทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา และพระราชอาณาเขตสืบไป" แล้วอครมหาเสนาบดีรับพระราชโองการกรบบังคมทูลว่า "ข้าพระพุทธเจ้าขอรับพระราชโองการมานพระบัณฑูรสุรสิงหนาทใส่เกล้าใส่กระหม่อม ขอเดชะ" แล้วเสด็จกลับขึ้นช้างในเสด็จประทับเหนือพระที่นั่งภัทรบิฐ...

    ครั้นเสร็จการฉลองพระนครแล้ว จึงพระราชทานนามพระนครใหม่ให้ต้องกับนางพระพุทธรัตนปฏิมากรว่า "กรุงเทพมหานคร อมรรัตนโกสินทร์มหินทรายุะยา มหาดิลกภพนพรัตราชธานีบุรีรมย์ อุดมราชนิเวศน์มหาสถานอมรพิมานอวตารสถิต สักกะทัตติยะวิษณุกรรมประสิทธิ์" เป็นพระมหานครที่ดำรงรักษาพระมหามณีรัตนปฏิมากร เป้นแก้วอย่างดีมีสิริอันประเสริฐสำหรับพระบารมีของสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวผู้ประดิษฐานกรุงเทพมหานครนี้ตั้งแต่พระราชทานามนี้มาบ้างเมืองก็อยู่เย็นเป็นสุขเกษมสมบุรณ์ขึ้น (ครั้นในแผ่นดินพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ทรงแปลงสร้อยที่ว่าบวรรัตนโกสินทร์นั้นเป็นอมรรัตนโกสินทร์ นอกนั้นคงไว้ตามเดิม..."

    (พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑, กรมศิลปากร, ๒๕๒๖ หน้า ๖๑-๖๓)

    "ทุกวันนี้ตั้งพระทัยแต่ที่จะทำนุบำรุงวรพระพุทธศาสนา ไพร่ฟ้าประชากรให้อยู่เย็นเป็นสุขให้ตั้งแต่อยู่ในคติธรรม ทั้ง ๔ ดำรงจิตจตุรัสบำเพ็ญศีลทาน จะได้สุคติภูมิ มนุษยสมบัติ สวรรคสมบัติ นิพพานสมบัติ เป็นประโยชน์แต่ตน.."

    (กฎหมายตราสามดวง, กรมศิลปากร, ๒๕๖๙)

    "พระบาทสมเด็จบรมบพิตรพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระอนุชาธิราชกรมพระราชวังบวรฯ เมื่อทรงสดับพระสงฆ์ราชาคณะถวายพระพรโดยพิสดารดังนั้น จึงดำรัสว่า"ครั้งนี้ขออาราธนาพระผู้เป็นเจ้าทั้งปวง จงมีอุตสาหะในฝ่ายพระพุทธจักรให้พระไตรปิฎกบริบูรณ์ขึ้นให้จงได้ ฝ่ายข้างอาณาจักรที่จะเป็นศาสนูปถัมภกนั้นเป็นพนักงานโยม โยมจะสู้เสียสละชีวิตบูชาพระรัตนตรัย สุดแต่จะให้พระปริยัติบริบูรณ์เป็นมูลท จะตั้งพระพุทธศาสนาจนได้" พระราชาคณะทังปวงรับสาธุแล้วถวายพระพร..."

    (พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์ รัชกาลที่ ๑ กรมศิลปากร ๒๕๒๖ หน้า ๑๑๓.)


    พระราชศรัทธาของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหน้านภาลัย

    "ศุภมัสดุ ๑๑๗๙ ศก...พระบาทสมเด็จบรมธรรมมิกมหาราชารามาธิราช บรมนารถบรมบพิตรพระพุทธเจ้าอยู่หัว...ทรงพระราชศรัทธาจะยกรื้อวิสาขบูชามหายัญพิธีอันขาดประเพณีมานั้น ให้กลับคืนเจียรฐิติกาลปรากฎสำหรับแผ่นดินสืบไป จะให้เป็นอัตตัตถประโยชน์และปรัตถประโยชน์ทรงพระราชศรัทธาจะให้สัตว์โลก ข้าขอบขัณฑเสมาทั้งปวงจำเริญอายุและอยู่เย็นเป็นสุขปราศจากทุกข์ภัยในชั่วนี้แลชั่วหน้า..."

    (กระทรวงศึกษาธิการ แนวพระราชดำริเก้ารัชกาล โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว ๒๕๒๘ หน้า ๒๐)

    พระคลังว่าที่สมุหพระกลาโหม พระยาศรีพัฒน์รัตนราชโกษา พระยาราชสุภาวดีกับขุนนางผู้น้อยทั้งปวง จงมีความสโมสาสามัคคีรสปรึกษาพร้อมกันเมื่อเห็นว่าพระบรมวงศานุวงศ์พระองค์ใดที่มีวัยวุฒิปรีชารอบรู้ราชานุวัตรจะเป็นศาสนูปถัมภกยกพระบวรพุทธศาสนา และจะปกป้องไพร่ฟ้าอาณาประชาราษฎร์รักษาแผ่นดินให้เป็นสุขสวัสดิ์โดยยิ่ง เป็นที่ยินดีแก่มหาชนทั้งปวงได้ ก็สุดแท้แต่จะเห็นดีประนีประนอมพร้อมใจกัน ยกพระบรมวงศานุวงศ์พระองค์นั้นขึ้นเสวยมไหสวรรยาธิปัตย์ราชสืบสันตติวงศ์ดำรงราชประเพณีต่อไปเถิดอย่าได้กริ่งเกรงพระราชอัธยาศัยเลย เอาแต่ให้ได้เป็นสุขทั่วหน้าอย่าให้เกิดการรบราฆ่าฟันกันให้ได้ความทุกข์ร้อนแก่ราษฎร..."

    (จดหมายเหตุรัชกาลที่ ๓ เลขที่ ๓๔ จ.ศ. ๑๒๑๒ พระบรมราชโองการเรื่องทรงมอบราชสมบขัติเมื่อใกล้จะสวรรคตให้กับเจ้าพระยาพระคลัง)


    พระราชนิพนธ์ของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

    "การพระราชบริจาคอันนี้ ทรงพระราชดำริเห็นว่าไม่ขัดขวางเป็นเหตุให้ท่านผู้ใดขุ่นเคืองขัดใจเลย พระนครนี้เป็นถิ่นที่ของคนนับถือพระพุทธศาสนามาแต่เดิม ไม่ใช่แผ่นดินของศาสนาอื่น คนที่ถือศาสนาอื่นมาแต่อื่นก็ดี อยู่ในเมืองนี้ก็ดี จะโทมนัสน้อยใจด้วยริษยาแก่พระพุทธศาสนาเพราะบูชาอันไม่ได้ด้วยไม่ใช่เมืองของศาสนาตัวเลย ถ้าโทมนัสก็ชื่อว่าโลภล่วงเกินไป"

    (ประชุมประกาศ รัชกาลที่ ๔ เล่ม ๑ องค์การค้าของคุรุสภา ๒๕๒๘ หน้า ๘๒)

    "ทรงพระราชดำริเห็นว่า จะฆ่าสัตว์มีชีวิต คือ สุกร เป็ด ไก่ นก ปลา แลอื่นๆ ให้ตายเป็นอันมาก จะเห็นไปว่าเป้นเวลาเฉลิมพระชนมพรรษาสัตว์ที่มีชีวิตซึ่งต้องตายเป็นอันมากดังนี้ เป็นเวลาทำบุญแล้ว จะมาทำบาปเล่าดูไม่ควรเพราะบ้านเมืองนับถือบรมพุทธศาสนา แลลัทธิถือว่าการฆ่าสัตว์เป็นบาป ขอให้ท่านทั้งปวงบรรดาที่เริ่มการทำบุญในครั้งนี้คิดยักย้ายทำของเลี้ยงพระสงฆ์แต่ที่ควร..."

    (ประชุมประกาศ รัชกาลที่ ๔ พ.ศ. ๒๔๐๘-๒๔๑๑ องค์การค้าของคุรุสภา ๒๕๐๔ หน้า๒๔๐-๒๔๑)


    พระราชปฏิญาณและพระราชนิพนธ์ของ
    พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระปิยมหาราช

    "ข้าพเจ้าขอปฏิญาณตนเฉพาะหน้าพระสงฆ์เถรานุเถระทั้งหลายอันประชุมอยู่ ณ ที่นี้ว่า การที่ข้าพเจ้าคิดจะไปประเทศยุโรป ณ ครั้งนี้ด้เวยข้าพเจ้ามุ่งต่อความดีแห่งพระราชอาณาจักและด้วยความหวังว่าจะเป็นประโยชนืแก่ตัวข้าพเจ้าด้วย เพราะฉะนั้น ข้าพเจ้าตั้งใจจะรักษาตนให้สมควรแก่ที่เป็นเจ้าของประชาชนชาวสยามทั้งปวง จะรักษาเกียรติยศแห่งพระราชอาณาจักรอันเป็นเอกราชนครนี้ จนสุดกำลังที่ข้าพเจ้าจะป้องกันได้

    และเพื่อจะให้เป็นเครื่องเตือนใจตัวข้าพเจ้า และเป็นเครื่องเย็นใจแห่งผู้ซึ่งมีความรักใคร่มุ่งหมายความดีต่อข้าพเจ้าปราศจากวิตกกังวลใจด้วยความประพฤติรักดษาตัวของข้าพเจ้าๆ จึงขอสมาทานข้อทั้งหลายที่จะกล่าวต่อไปนี้

    ๑. ข้าพเจ้าจะไม่มีจิตยินดีน้อมไปในศาสดาอื่นนอกจากสมเด้จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า และพระธรรมอันพระองคืได้ตรัสรู้ชอบดีแล้ว กับทั้งพระสงฆ์หมู่ใหญ่ อันได้ประพฤติตามคำสั่งสอนของพระสัมมาสัมพุทธเจ้าพระองค์นั้นเลยเป็นอันขาด จนตราบกว่าสิ้นชีวิต

    ๒. การที่ข้าพเจ้าไปครั้งนี้ แม้ว่าจะช้านานเท่าใดก็ดี ข้าพเจ้าจะไม่ร่วมประเวณีด้วยสตรีใดจนกลับเข้ามาถึงในพระราชอาณาเขต

    ๓. ถึงแม้ว่าจะไปในประเทศซึ่งเขาถือกันว่า การให้สุราเมรัยไม่รับเป็นการเสียกิริยาอันดีฤาเพื่อป้องกันโรคภัยอันเปลี่ยนอากาศเป็นต้น ข้าพเจ้าจะไม่เสพสุราเมรัยให้มึนเมาเสียสติ ฤาแม้แต่มีกายวิกลเกินปรกติเป็นอันขาด

    คำปฏิญาณสมาทานสามประการนี้ ข้าพเจ้าได้ทำไว้เฉพาะหน้าพระสงห์เถรานุเถระอันได้มาประชุมในการพระราชพิธีศรีสัจจปานกาล แห่งผู้สำเร็จราชการแผ่นดินต่างพระองค์และที่ปรึกษาของผู้สำเร็จราชการ ณ พระที่นั่งไพศาลทักษิณในบรมมหาราชวัง วันที่ ๒๑ มีนาคม รัตนโกสินทรศก ๑๑๕ พระพุทธศาสนายุกาล ๒๔๓๙ พรรษา เป็นวันที่ ๑๐๓๕๘ ในรัชกาลปัจจุบัน"

    (กรมศิลปากร การเสด็จประพาสยุโรปของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ร.ศ.๑๑๖ เล่ม ๑, สหประชาพาณิชย์ ๒๕๒๓ หน้า ๙๗-๑๐๐)

    "พระราชบิดาของฉัน ได้ทรงสละเวลาเป็นส่วนใหญ่ในการศึกษาและคุ้มครองศาสนาของชาติ ส่วนฉันได้ขึ้นครองราชย์ในขณะอายุยังน้อยจึงไม่มีเวลาที่จะเป็นนักศึกษาอย่างพ่อ ฉันเองมีความสนใจในการศึกษาหนังสือหลักธรรมต่างๆ สนใจที่จะคุ้มครองศาสนาของเราและต้องการที่จะให้มหาชนทั่วไปมีความเข้าใจถูกต้อง

    ดูเหมือนว่า ถ้าชาวยุโรปเชื่อในคำสอนของคระมิชชันนารีว่าศาสนาของเราโว่วมงายและชั่วทราม คนทั่งหลายก็จะต้องถือว่าพวกเราเป็นคนโง่งมงายและชั่วทรามไปด้วย ฉันจึงรู้สึกขอบคุณบรรดาบุคคลเช่นท่านเป็นตัวอย่างที่สอนชาวยุโรปให้ความคารวะแก่ศาสนาของเรา"

    (พระราชหัตถเลขาถึง เซอร์ เอ็ดวิน อาร์โนลด์)

    "ข้าพเจ้าย่อมรู้สึกว่า เป็นหน้าที่ของข้าพเจ้าที่จะต้องทำนุบำรุงพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นสิ่งคู่กับพระราชอาณาจักร ให้ดำเนินไปในทางวัฒนาถาวรพร้อมกันทั้งสองฝ่าย"

    (พระราชดำรัสของสมเด็จพระปิยมหาราชต่อคณะสงฆ์ ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม เมื่อพุทธศักราช ๒๔๔๐)

    "ประชาชนในสยามราชอาณาจักรนี้ ย่อมเป็นผู้นับถือพระพุทธศาสนาโดยมาก พุทธศาสนิกชขนในพระราชอาณาจักรย่อมได้สดับตรับฟังพระสัทธรรม ซึ่งสมเด้จพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าบัญญัติสอนไว้เป็นวิธีทางสัมมาปฏิบัติจากพระภิกษุสงสฆ์ซึ่งมีอยู่ในสังฆารามทั่วพระราชอาณาจักรแลได้ฝากบุตรหลานเป็นศิษย์ เพื่อให้ร่ำเรียนพระบรมพุทโธวาทแลวิชาซึ่งจะให้บขังเกิดประโยชน์กล่าวคือ วิชาหนังสือเป็นต้น ในสำนักพระภิกษุสงฆ์เป็นประเพณีมีสืบมาแต่โบราณกาลจนบัดนี้ นับว่าพระภิกษุสงฆ์ทั้งหลายได้กระทำประโยชน์แก่พุทธจักร แลพระราชอาณาจักรทั้งสองฝ่ายเป็นอันมาก

    เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระราชนปรารภถึงการที่จะทำนุบำรุง ประชาชนทั้งหลายให้ตั้งอยู่ในสัมมาปฏิบัติ แลให้เอื้อเฟื้อในการที่จะศึกษาวิชาอันเป็นประโยชน์ เพื่อจะให้ถึงความเจริญยิ่งขึ้นโดยลำดับ จึงทรงพระรชดำริเห็นว่าไม่มีทางอย่างอื่นจะประเสริฐยิ่งกว่าจะเกื้อกูลพระภิกษุสงฆ์ทั้งหลชายโดยพระราชทานพระบรมราชูปถัมภ์ ให้มีกำลังสั่งสอนธรรมปฏิบัติแลวิชาความรู้แก่พุทธศาสนิกชนบริบูรณ์ยิ่งขึ้นกว่าแต่ก่อน"

    (กฎหมาย รัชกาลที่ ๕ ร.ศ. ๑๑๗ เรื่องประกาศจัดการเล่าเรียนหัวเมือง)

    "การสอนศาสนาในโรงเรียนทั้งในกรุงแลหัวเมืองจะต้องให้มีขึ้นให้มีความวิตกไปว่าเด็กชั้นหลังจะห่างเหินจากการศาสนา จนเลยเป็นคนไม่มีธรรมในใจมากขึ้น เมื่อเป็นเช่นนั้นจะถือว่าเหมือนอย่างทุกวันนี้ คนที่ไม่รู้อะไรก็มีมาก ต่อไปภายหน้าถ้าเป็นคนที่ได้เล่าเรียนคงจะประพฤติตัวดีกว่าคนที่ไม่ได้เล่าเรียนนั้นหาถูกไม่ คนที่ไม่มีธรรมเป็นเครื่องดำเนินตาม คงจะหันไปทางทุจริตโดยมาก ถ้ารู้น้อยก็โกงไม่ค่อยคล่อง ฤาโกงไม่สนิท ถ้ารู้มากก็โกงคล่องมากขึ้นและโกงพิสาดารมากขึ้น การที่หัดให้รู้อ่านอักขรวิธีไม่เป็นเครื่องฝึกหัดให้คนดีและคนชั่ว เป็นแต่ได้วิธีสำหรับจะเรียนความดีความชั่วได้คล่องขึ้น จึงเห็นว่าถ้ามีหนังสืออ่านสำหรับโรงเรียน ที่บังคับให้โรงเรียนต้องสอนกัน แต่ให้เป็นอย่างใหม่ๆ ที่คนจะเข้าใจง่ายๆ...จะเป็นคุณประโยชน์มาก"

    (กระทรวงศึกษาธิการ, แนวพระราชดำริเก้ารัชกาล, โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๒๘, หน้า ๑๗๓


    พระบรมราโชวาทและพระราชนิพนธ์ของ
    พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว

    "พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาสำหรับชาติเรา เราจำเป็นต้องถือด้วยความกตัญญูต่อบิดามารดาและต้นโคตรวงศ์ของเรา จำเป็นต้องถือไม่มีปัญหาอะไร...เมื่อข้าพเจ้ารู้สึกได้แน่นอน จึงได้กล้าลุกขึ้นยืนแสดงเทศนาทางพระพุทธศาสนาแก่ท่านทั้งหลายโดยหวังแน่ว่าบรรดาท่านทั้วปวงซึ่งเป็นคนไทย เมื่อรู้สึกแน่วแน่แล้วว่า ศาสนาในสมัยนี้เป็นของที่แยกจากชาติไม่ได้...พุทธศาสนาเป็นของไทย เรามาชวนกันนับถือพระพุทธศาสนาเถิด...ผู้ที่แปลงศาสนา คนเขาดูถูกยิ่งเสียกว่าผู้ที่แปลงชาติ เพราะเขาย่อมเห็นว่า สิ่งที่นับถือเลื่อมใสกันมาตลอดครั้งปู่ย่าตายาย ตั้งแต่เด็กมาแล้วเป็นของสำคัญอันหนึ่ง ซึ่งแสดงให้เห็นว่าคนนั้นมีความสัตย์ มีความมั่นคงในใจหรือไม่เมื่อมาแปลงชาติศาสนาได้แล้ว เป็นแลเห็นได้ทันทีว่าเป็นคนไม่มั่นคง อย่าว่าแต่อะไรเลยศาสนาที่ใครทั้งโลกเขานับถือว่าเป็นของสำคัญที่สุด เขายังแปลงได้ตามความพอใจหรือเพื่อสะดวกแก่ตัวของเขา...เหตุฉะนี้ ผู้แปลงศาสนาถึงแม้จะไม่เป็นผู้พึงเกลียดชังแห่งคนทั่วไป ก็ย่อมเป็นผู้ที่เขาสามารถจะเชื่อได้น้อย เพราะเหตุฉะนั้น เป็นความจำเป็นที่เราทั้งหลายผู้เป็นไทยจะต้องมั่นอยู่ในพระพุทธศาสนาซึ่งเป็นศาสนาสำหรับชาติเรา

    ต้องเข้าใจพุทธศาสนาในเวลานี้ ไม่มีแห่งใดในโลกที่ถือจริงรู้จริงเท่าในเมืองไทยเรา เมืองไทยเราเปรียบเหมือนป้อมอันใหญ่ ซึ่งเป็นแนวที่สุดของพระพุทธศาสนา แนวที่ ๑ แนวที่ ๒ ร่อยหรอเต็มที่แล้ว ยังแต่แนวที่ ๓และแนวที่สุดคือเมืองไทย เราทั้งหลายเป็นผู้รักษาแนวนี้ ถ้าเราไม่ตั้งใจรักษาจริงๆ แล้ว ถ้ามีอันตรายอย่างใดมาถึงพระพุทธศาสนาเราทั้งหลายจะเป็นผู้ที่ได้รับความอับอายด้วยกันเป็นอันมาก...

    เหตุฉะนี้เป็นหน้าที่ของเราที่จะต้องตั้งใจที่จะรักษาความมั่นคงของพระพุทธศาสนาในประเทศไทยอย่าให้มีอันตรายมาถึงได้...ผู้ที่คนอื่นเขาส่งเข้าปลอมแปลงเพื่อทำลายพระพุทธศาสนา เราทั้งหลายต้องคอยระวังรู้เท่าไว้จึงจะควร...จึงเป็นหน้าที่ของเราทั้งหลชายที่เป็นเชื้อชาตินักรบต้องรักษาพระศาสนาอันนี้ให้คงอยู่ในเมืองไทยอีกต่อไป ต้องรักษาไว้เพื่อให้เป็นมรดกแก่ลูกหลานของเราทั้งหลายให้เขารักษากันต่อไป ยั่งยืนเป็นเกียรติยศแก่ชาติของเราชั่วกัลปาวสาน

    เวลานี้ทั้งโลกเขาพูดเขานิยมว่าชาติที่ถือพระพุทธศาสนาที่พระพุทธศาสนายั่งยืนอยู่ได้ เพราะมีเมืองไทยเป็นเหมือนป้อมใหญ่ในแนวรบเราเคราะห์ดีที่สุดที่นานมาแล้ว เราได้ตกไปอยู่ในพระพุทธศาสนาจึงได้เป็นมนุษย์ชั้นสูงที่สุดที่มนุษย์ชั้นสูงที่สุดที่มนุษย์จะเป็นไปได้ในทางธรรม เหตุฉะนี้ ขอท่านทั้งหลายที่นั่งฟังอยู่ ผู้ที่ตะเกียกตะกายอยากเป็นฝรั่ง อย่าทำเหมือนฝรั่งในทางธรรมเลย ถ้าจะเอาอย่างฝรั่งจงเอาอย่างในทางที่ฝรั่งเขาทำดี คือในทางวิชาการบางอย่าง ซึ่งเขาทำดีเราควรเอาอย่าง แต่การรักษาศีลรักษาธรรมเรามีตัวอย่างดีกว่าฝรั่งเป็นอันมาก ถือพระพุทธเจ้าเป็นตัวอย่างของเราแล้วเรามีตัวอย่างหาที่เปรียบเสมอเหมือนมิได้

    พระพุทธศาสนาก็ดีหรือศาสนาใดก็ดี ที่ตั้งมั่นอยู่ได้ก็ด้วยความมั่นคงของผู้เสื่อมใส ตั้งใจที่รักษา และข้าพเจ้าพูดทั้งนี้ ก็เพื่อชักชวนท่านทั้งหลายอย่างเป็นเพื่อนไทย และเพื่อนพุทธศาสนิกชนด้วยกันทั้งนั้นเพื่อความมั่นคงแห่งพระพุทธศาสนา ข้าพเจ้ารู้สึกว่า ได้ทำหน้าที่สมควรแก่อุปถัมภ์พระพุทธศาสนา เราตั้งใจจะรักษาศาสนาของเราด้วยชีวิต ข้าพเจ้าและท่านตั้งใจจะช่วยข้าพเจ้าในกิจอันใหญ่นี้แล้วก็จะเป็นที่พอใจข้าพเจ้าเป็นอันมาก

    เมืองเราเกือบจะเป็นเมืองเดียวแล้วในโลกได้มีบุคคลถือพระพุทธศาสนามาก และเป็นเหล่าเดียวกัน เพราะฉะนั้นเป็นหน้าที่ของเราทั้งหลายที่จะช่วยกันบำรุงรักษาพระพุทธศาสนาอย่าให้เสื่อมสูญไป การที่จะบำรุงพระพุทธศาสนา เราต้องรู้สึกก่อนว่าหลักของพระพุทธศาสนาคืออะไร

    เราทั้งหลายที่ยังไม่แน่ ตั้งแต่วันนี้จะได้พร้อมกันตั้งใจว่าในส่วนตัวเราเองจะริษยากันก็ตาม จะเป็นอย่างไรก็ตาม จะทำการเช่นนี้ต่อเมื่อเวลาว่างไม่มีภัย เมื่อมีเหตุสำคัญจำเป็นที่เราจะต้องต่อสู้ชาติอื่นแม้การส่วนตัวของเราอย่างไร จะทำให้เสียประโยชน์แก่ชาติเราแล้ว สิ่งนั้นเราจะทิ้งเสีย เราจะรวมกันไม่ว่าในเวลานี้ชอบกันหรือชังกัน เราจะถือว่าเราเป็นไทยด้วยกันหมดเราจะต้องรักษาความเป็นไทยของเราให้ยั่งยืนเราจะต้องรักษาพระพุทธศาสนาให้ถวาวรวัฒนการ อย่างที่เป็นมาแล้วหลายชั่วโคตรของเราทั้งหลาย"

    (พระบรมราโชวาทเรื่องเทศนาเสือป่า)

    อนึ่ง พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้ทรงพระราชนิพนธ์คำประพันธ์บทหนึ่งบ่งถึงความหมายของสีทั้งสามของธงไตรรงค์ ดังนี้

    ความหมายแห่งไตรรงค์
    ขอร่ำรำพรรณบรรยาย ความคิดเครื่องหมาย
    แห่งสีทั้งสามงามถนัด
    ขาว คือบริสุทธิ์ศรีสวัสดิ์ หมายพระไตรรัตน์
    และธรรมะคุ้มจิตไทย
    แดง คือโลหิตเราไซร้ ซึ่งยอมสละได้
    เพื่อรักษาชาติศาสนา
    น้ำเงิน คือสีโสภา อันจอมประชา
    ธ โปรดเป็นของส่วนองค์
    จัดริ้วเข้าเป็นไตรรงค์ จึ่งเป็นสีธง
    ที่รักแห่งเราชาวไทย
    ทหารอวตารนำไป ยงยุทธ์วิชัย
    วิชิตก็ชูเกียรติสยามฯ

    (จากดุสิตสมิต ฉบับพิเศษ ๒๔๖๑ หน้า ๔๒)


    พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว

    "แต่บ้านเมืองในลานนาถึงกาลวิบัติ พระพุทธศาสนาก็เศร้าหมองจงสงฆมณฑลเสื่อมทรามระส่ำระสายมาช้านาน...มาจนถึงรัชกาลสมเด็จพระปิยมหาราช พระบรมชนกนาถของเราจึงได้เริ่มทรงจัดการฟื้นพระพุทธศาสนาในมณฑลนี้มา โดยทรงพระราชดำริจะให้พุทธจักรและอาณาจักรเจริญรุ่งเรื่องสมกับสมัย เป็นต้นว่าในการสั่งสอนประชาชนทั้งหลายให้รัฐบาลเอาเป็นธุระสั่งสอนส่วนคดีโลก ให้พระสงฆ์รับภาระสั่งสอนส่วนคดีธรรมเป็นอุปการะแก่กันดังนี้ สมเด็จพระบรมเชษฐาธิราชของเราก็ได้โปรดให้จัดการสืบมาโดยทางนั้น"

    (พระราชดำรัสและพรบรมราโชวาทในการเสด็จพระราชดำเนินเสียบมณฑลฝ่ายเหนือและมณฑลพายัพ พุทธศักราช ๒๔๖๙, ทรงพระกรุณาโปรดกระหม่อยให้พิมพ์พระราชทานในงานบำเพ็ญพระราชกุศลสตมวารพระบรมศพสมเด็จพระนางเจ้าร่ำไพพรรณี พระบรมราชินีในรัชกาลที่ ๗, ๒๕๒๗, หน้า ๓๖)

    "ตามธรรมดาเด็กๆ จะเรียกแต่หนังสือเท่านั้นไม่พอ ถ้าเรียนแต่หนังสืออย่างเดียว ก็จะตรงกับที่โบราบท่านว่าไว้ว่า "วิชชาท่วมหัว เอาตัวไม่รอด" เราต้องเรียนอย่างอื่นด้วย ต้องฝึกกายวาจาใจ พระพุทธองค์ได้รับสั่งไว้เป็นพุทธภาตว่า" "ทนฺโต เสฏฺโฐ มนุสฺเสสุ" คือแปลว่า บุคคลที่ได้ฝึกหัดแล้วเป็นผู้ประเสริฐในหมู่มนุษย์..."

    (พระบรมราโชวาทพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ในกระทรวงศึกษาธิการ, แนวพระราชดำริเก้ารัชกาล, โรงเพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว, ๒๕๒๘, หน้า ๒๕๖)

    "ศาสนาจะเป็นยาบำรุงกำลัง บำรุงน้ำใจ ให้ทนความลำบากได้ให้มีแรงที่จะทำการงานของตนให้เป็นผลสำเร็จได้ และยังเป็นยาที่จะสมานหัวใจให้หายเจ็ดปวดในยามทุกข์ได้ด้วย...พวกเราทุกๆ คนควรพยายามให้เด็กๆ ลูกหลายของเรามี "ยา" สำคัญ คือ คำสั่งสอนของพระบรมศาสดาสัมมาสัมพุทธเจ้าติดตัวไว้เป็นกำลัง เพราะ "ยา" อย่างนี้เป็นทั้ง "ยาบำรุงกำลัง" และ "ยาสมานหรือระงับความเจ็บปวด"

    (พระราชนิพนธ์คำนำของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว ในทิศ ๖ หนังสือสอนพระพุทธศาสนาแก่เด็ก, โรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากร, ๒๔๗๔, หน้า ข.ฆ.)


    พระบรมราโชวาทของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวรัชกาลปัจจุบัน

    "ข้าพเจ้าขอแสดงความชื่นชมยินดีด้วย ที่สภายุวพุทธิกสมาคมแห่งชาติจัดให้มีการประชุมยุวพุทธิกาสมาคมทั่วประเทศขึ้นอีกครั้งหนึ่ง เพื่อปรึกษาแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน โดยยกเอาเรื่องการปลุกจิตสำนึกของชาวพุทธเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา ซึ่งเป็นศาสนาประจำชาติของเรา ขึ้นเป็นหัวข้อการประชุม...ชาวพุทธที่แท้จึงเป็นผู้คิดชอบปฏิบัติชอบอยู่เป็นปรกติอยู่ ณ ที่ใดก็ทำให้ที่นั่นสงบร่มเย็น มีแต่ความปรองดองและสร้างสรรค์ จึงเป็นโชคดีอย่างยิ่ง ที่ประเทศไทยเรามีพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ ทำให้คนไทยทุกเชื้อนชาติศาสนาอยู่ร่วมกันด้วยความสุขมีความรักความปรารถนาดีต่อกัน มีการสงเคราะห์อนุเคราะห์ซึ่งกัน และมีความสมัครสมานสามัคคีกันเป็นอย่างดี การที่ยุวพุทธิกสมาคมได้ตี้งใจพยายามในอันที่จะปลุกจิตสำนกของชาวพุทธให้หนักแน่นมั่นคงในพระศาสนายิ่งขึ้น จึงเป็นสิ่งที่ดีมีคุณประโยชน์ทั้งแก่การจรรโลงพระพุทธศาสนา และแก่ส่วนรวมคือประเทศชาติอันเป็นที่เกิดที่อาศัย"

    ("พุทธธรรม" วารสสารของพุทธสมาคมแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์, ปีที่ ๔๒, ฉบับที่ ๒๖๕, พุทธศักราช ๒๕๓๗)

    "ข้าพเจ้าถือว่า พระพุทธนวราชบพิตร เป็นที่ตั้งแห่งคุณพระรัตนตรัยอันเป็นที่เคารพสูงสุด และเป็นทั้งบที่หมายของความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันของประเทศไทยและคนไทยทั้งชาติ..."

    (บทความในหนังสือ พระพุทธศาสนา ศาสนาประจำชาติไทย,คณะกรรมการจัดงานสัปดาห์ส่งเสริมพระพุทธศาสนา, วิสาขบูชา, ๒๕๒๗, หน้า ๙๗)

    "บัดนี้ ประเทศชาติกำลังพัฒนาในทุกด้าน และต้องการความสามัคคีความสงบเรียบร้อย ผลดีทั้งปวงดังกล่าวจะเกิดขึ้นได้ด้วยประชาชนมีหลักของใจอันมั่นคง มีศรัทธาและปัญญาอันถูกต้อง และปฏิบัติตนอยู่ในทางที่เป็นประโยชน์แก่ส่วนรวม กรณีกิจอันสำคัญของท่านทั้งหลาย คือการส่งเสริมประชาชนให้มีพระรัตนตรัยและธรรมในพระพุทธศาสนา เป็นหลักของใจและความประพฤติ ด้วยศรัทธาและปัญญาที่ถูกต้อง"

    (พระบรมราโชวาท พระราชทานแก่ที่ประชุมสมาคมพุทธศาสนาทั่วราชอาณาจักรครั้งที่ ๑๗ วันที่ ๑๗ ธันวาคม พุทธศักราช ๒๕๑๒)

    ในประวัติศาสตร์ไทย พระมหากษัตริย์ไทยพุกพระองค์ ทรงเป็นพุทธมามกะ รัฐธรรมนูญทุกฉบับก็ได้ระบุไว้ชัดแจ้ง ดังเช่นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช ๒๕๔๐ มาตรา ๙ บัญญัติว่า ไพระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะ และทรงเป็นอัครศาสนูปถัทภก" ซึ่งข้อความในวรรคหลังเป็นข้อความที่เนื่องกับวรรคแรก กล่าวคือ พระมหากษัตริย์ทรงเป็นอัครศาสนูปถัมภกของพระพุทธศาสนา ดังเช่นที่พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวเมื่อทรงประกอบราชพิธีบรมราชาภิเษกแล้ว ก็เสด็จไปวัดพระศรีรัตนศาสดารามทรงจุดเทียนทองธูปเงินเครื่องนมัสการพระมหาณณีรัตปฏิมากร และทรงรับศีล แล้วพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวได้ประกาศพระองค์เป็นภาษามคธว่า ทรงรับเป็นพุทธศาสนูปถัมภกจะทำนุบำรุงพระบวรพุทธศาสนาให้วัฒนาถาวรสืบไป พระสงฆ์ถวายสาธุการขึ้นพร้อมกันครั้นแล้วพระสงฆ์ทั้งนั้นสวดถวายพระพร เสร็จแล้วจึงเสด็จไปนมัสการพระมหามณีรัตนปฏิมากรแล้วเสด็จ (กลับ) อย่าขบวนที่เสด็จเมื่อขามา"

    (จากหนังสือพระราชกรณีกิจในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว เล่ม ๑๐ โดยจมื่นอมรดรุณรักษ์, องค์การค้าของคุรุสภา, ๒๕๑๕, หน้า ๖๑)

    สำหรับศาสนาอื่นๆ นั้น พระมหากษัตริย์ไทยทรงให้ความคุ้มครองศาสนาอื่นๆ และช่วยอุดหนุนตามความเหมาะสม

    พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ได้ทรงอุปถัมภ์พระพุทธศาสนาอย่างดียิ่งตลอดมา โดยทรงอุปถัมภ์ในทุกๆ ด้านคือ ด้านศาสนะรรมก็ได้ทรงอุปถัมภ์การชำระและจารึกพระไตรปิฏก การศึกษาพระปริยัติธรรมตลอดจนการปฏิบัติธรรม ด้านศาสนาบุคคลก็ได้ทรงอุปถัมภ์คณะสงฆ์และการสถาปนาพระราชคณะ ซึ่งไม่เคยทรงสถาปนานักบวชในศาสนาอื่นๆ ทะนุบำรุงถาวรวัตถุทางพระพุทธสาสนา อีกทั้งทรงพระราชทานวิสุงคามสีมาให้แก่วัดในพระพุทธศาสนาเท่านั้น

    อนึ่งพระราชกรณีกิจที่พระมหากษัตริย์ไทยทุกพระองค์ทรงบำเพ็จไม่ว่าจะเป็นงานพระราชพิธี งานพระราชกุศลและรัฐพิธี ล้วนแต่มีพิธีกรรมทางพระพุทธศาสนาเป็นหลักทั้งสิ้น แม้จะมีพิธีพราหมณ์ปนอยู่ พิธีพราหมณ์เหล่านั้นก็เป็นเพียงส่วนประกอบปลีกย่อยเท่านั้น จึงสรุปได้ว่าประเทศไทยแม้จะไม่ได้กำหนดไว้ในรัฐธรรมนูญอย่างชัดแจ้งว่าพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติ แต่โดยพฤตินับและพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวเกี่ยวกับเรื่องความหมายธงชาติไทย ก็เป็นอันนับได้ว่าพระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติของประเทศไทยมาแต่อดีต

    อนึ่ง เครื่องชี้ชัดอีกประการหนึ่ง ที่ทำให้สิ้นความสงสัยว่าสถาบันศาสนาได้แก่ สถาบันพระพุทธศาสนาอันเป็นศาสนาอันเป็นศาสนาประจำชาติ จากพระราชดำรัสของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช รัชกาลปัจจุบันในโอกาสเสด็จออกทรงผนวชเมื่อเดือนตุลาคม พ.ศ. ๒๔๙๙ ว่า

    "โดยที่พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาประจำชาติของเรา ทั้งตามความศรัทธาเชื่อมั่นของข้าพเจ้าเองก็เห็นเป็นศาสนาที่ดีศาสนาหนึ่ง เนื้องในบรรดาสัจจธรรมคำสั่งสองอันชองด้วยเหตุผล จึงเคยคิดอยู่ว่าถ้าโอกาสอำนวยข้าพเจ้าควรจักได้บวชสักเวลาหนึ่ง ตามราชประเพณีซึ่งจัดเป็นทางสนองพระเดชพระคุณพระราชบูรพาการีตามคตินิยมด้วย และนับตั้งแต่ข้าพเจ้าได้ครองราชย์ สืบสันตติวงศ์ต่อจากสมเด็จพระเชษฐาธิราชก็ล่วงมากว่าสิบปีแล้วเห็นว่าน่าจะถึงเวลาที่ควรจะทำความตั้งใจไว้นั้นแล้วประการหนึ่ง...จึงตกลงใจที่จะบรรพชาอุปสมบทในวันที่ ๒๒ เดือนนี้"

    (จากหนังสือพระบรมราโชวาท)

    นอกจากนั้น เมื่อวันที่ ๑๐ พฤษภาคม ๒๕๒๗ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้ทรงมีพระราชดำรัสตรัสต้อนรับโป๊ปจอห์น ปอล ที่ ๒ ณ พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ความตอนหนึ่งว่า

    "คนไทยเป็นศาสนิกชนที่ดีทั่วกัน ส่วนใหญ่นับถือพระพุทธศาสนาอันเป็นศาสนาประจำชาติ"

    พระราชดำรัสและพระบรมราโชวาททั้งหลายที่ได้อัญเชิญมานี้ เป็น พระราชดำรัสและพระบรมราโชวาทของพระมหากษัตริย์ที่ทรงความสำคัญยิ่งหลายพระองค์ในทุกยุคทุกสมัย ได้ตรัสไว้ทำนองเดียวกัน จึงเป็นหลักฐานยืนยังที่ชัดเจนได้ว่า พระพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่บรรพบุรุษของเราได้ยอมรับนับถือเป็นศาสนาประจำชาติ และเป็นสถานบันหลักของสืบเนื่องติดต่อมา

    การที่บรรพบุรุษของเราได้กำหนดให้สถาบันชาติ สถาบันพระพุทธศาสนาและสถาบันพระมหาษัตริย์ เป็นสถาบันหลักที่สำคัญนั้น ทำให้เรามองเห็นถึงพระปรีชาสามารถปราดเปรื่องของบรรพบุรุษของเราเป็นอย่างยิ่งว่าสถาบังดังกล่าวทั้ง ๓ สถาบันนี้จะขาดสถาบันใดสถาบันหนึ่งมิได้ ต่างอาศัยเกี่ยวพันซึ่งกัน คือ

    ๑. สถาบันชาติ เครื่องหมายของความเป็นชาติย่อมมีส่วนประกอบหลายอย่าง แต่ส่วนประกอบสำคัญที่บ่งชี้ถึงความเป็นชาติได้แก่ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวัฒนธรรมอันเป็นเอกลักษณ์ของความเป็นชาติและตามที่กล่าวมาแล้วว่าโดยที่ประเทศไทยของเราได้ยอมรับนับถือพระพุทธศาสนาช้านานแต่โบราณ ทำให้ขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ตลอดจนเอกลักษณ์ของความเป็นชาติไทยตั้งอยู่บนพื้นฐานความเชื่อถือทางพระพุทธศาสนาเกือบทั้งสิ้น ฉะนั้นหากพระพุทธศาสนาได้รับความกระทบกระเทือนย่อมมีผลให้สถาบันชาติสั่นคลอนไปด้วย

    ๒. สถาบันพระมหากษัตริย์ โดยที่พระมหากษัตรย์ทรงเป็นพุทธมามกะตามกฏมนเทียรบาลและรัฐธรรมนูญ การที่ชนในชาติยังมีความเสื่อมใส ศรัทธายอมรับนับถือพระพุทธศาสนาอยู่ตราบใด ย่อมแสดงให้เห็นถึงการมีลัทธิความเชื่อถือที่สอดคล้องกับองค์พระประมุข มีพระรัตนตรัยเป็นสรณะสูงสุดร่วมกัน อันเป็นพื้นฐานความมั่นคงที่สำคัญ

    ๓. สถาบันพระพุทธศาสนา โดยที่เนื้อแท้ของสถาบันพระพุทธศาสนานั้น มิอาจตั้งอยู่ได้โดยปราศ่จากความอุปถัมภ์จากองค์เอกอัครอศาสนูปถัมภกและจากรัฐ เพราะพระภิกษุสามเณรซึ่งเป็นองค์ประกอบสำคัญของสถาบันนี้ เป็นผู้ทรงศีลเป็นผู้ขัดเกลากิเลส เป็นผู้เผยแพร่ประกาศพระศาสนาในฐานะศาสนทายาท มิได้ประกอบอาชีพการงาน เยี่ยงคฤหัสถ์ การดำรงสมณเพศต้องอาศัยชาวบ้านเมือง หากขาดการอุปถัมภ์ค่ำจุนจากรัฐและจากองค์พระประมุขเมื่อใด ก็ย่อมจะดำรงตั้งอยู่ไม่ได้เช่นกัน

    ด้วยโครงสร้างของชาติไทยที่มีความผู้พันเกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนามาแต่อดีตอันยาวนาน จนคำสอนในพระพุทธศาสนากลายเป็นรากฐานของขนบธรรมเนียมจารีตประเพณีวัฒนธรรม ที่คนไทยทั้งชาติยึดถือร่วมกัน อีกทั้ง พระมหากษัตริย์ทรงเป็นพุทธมามกะตามกฎมนเทียรบาลและตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จึงทำให้โครงสร้างความเป็นชาติไทย ซึ่งประกอบด้วยสถาบันหลักสามสถาบัน ได้แก่สถาบันชาติสถาบันศาสนาและสถาบันพระมหากษัตริย์ มีความสัมพันธ์อาศัยซึ่งกันและกันมิอาจแยกจากกันได้ หากขาดสถาบันหนึ่งสถาบันใดอีกสองสถาบันก็มิอาจดำรงอยู่ได้

    ด้วยเหตุดังกล่าว รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยทุกฉบับ จึงได้กำหนดให้เป็นหน้าที่ของชนชาวไทยทุกคนต้องรักษาไว้ซึ่งสถาบันทั้งสาม ดังเช่นรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราชไทยพุทธศักราช ๒๕๔๐ มาตรา ๖๖ บัญญัติว่า "บุคคลมีหน้าที่รักษาไว้ซึ่ง ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์"
     
  20. พันวฤทธิ์

    พันวฤทธิ์ เป็นที่รู้จักกันดี สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    3,783
    ค่าพลัง:
    +16,097

แชร์หน้านี้

Loading...