เหตุผลที่ชาวพุทธ "จำเป็น" ต้องทำ "สมาธิ"

ในห้อง 'พุทธศาสนา และ ธรรมะ' ตั้งกระทู้โดย nondanun, 23 สิงหาคม 2007.

  1. nondanun

    nondanun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 ธันวาคม 2005
    โพสต์:
    5,980
    กระทู้เรื่องเด่น:
    13
    ค่าพลัง:
    +32,611
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="94%" align=center border=0><TBODY><TR><TD class=postbody vAlign=top>เหตุผลที่ชาวพุทธ "จำเป็น" ต้องทำ " สมาธิ"

    ทุกวันนี้ มีชาวพุทธจำนวนมาก ที่ไม่รู้ว่า....

    สมาธิ คือ อะไร?
    ทำไม ต้องทำสมาธิ?
    สมาธิ มีประโยชน์ ?

    หลายคนคิดว่า สมาธิเป็นเรื่องของพระสงฆ์ , คนที่ปล่อยวางทางโลกแล้ว,
    ต้องเข้าป่า, ต้องหนีทางโลก , เรื่องของคนแก่ถือศีลตามวัด จึงจะทำสมาธิได้

    แต่จริงๆ แล้ว
    สมาธิเกี่ยวข้องกับ "ชีวิตประจำวัน" ของทุกคน ในทุกอย่างก้าว

    และ เป็นเรื่องพื้นฐานที่สุด สำหรับชาวพุทธ (ที่ไม่ใช่แค่พุทธในทะเบียนบ้าน !)
    สามารถฝึกสมาธิ ในทุกสถานที่ เช่น ที่บ้าน ที่โรงเรียน ที่ทำงาน
    และ ทำได้ ทุกคน ทุกเพศ ทุกวัย (เด็ก วัยรุ่น วัยทำงาน ผู้ใหญ่ คนชรา)


    -----------------------------------------------------------------------------------------------------------

    สมาธิ เป็นสิ่งที่มนุษย์ทุกคน"จำเป็น" ต้องทำ


    หลวงพ่อวิริยังค์ สิรินธโร เจ้าอาวาสวัดธรรมมงคล กรุงเทพฯ
    (ศิษย์เอกองค์หนึ่งของหลวงปู่มั่น)
    [​IMG] [​IMG] [​IMG]

    ท่านได้อธิบายเรื่องสมาธิ ดังนี้


    - สมาธิ คือ การที่จิตจดจ่ออยู่กับสิ่งใดสิ่งหนึ่ง

    *** วัตถุประสงค์ที่แท้จริงของการทำสมาธิ คือ เพิ่ม" พลังจิต"

    - ร่างกาย ต้องมี กำลัง(พลัง)กาย และ จิต ก็ต้องมี พลังจิต เช่นกัน

    - พลังกาย ได้จาก การกินอาหาร
    พลังจิต ได้จาก การทำสมาธิ

    - ในชีวิตประจำวัน :

    ร่างกาย ต้องใช้ พลังกายในทุกๆกิจกรรม
    ทำให้พลังกายลดลง ซึ่งต้องชดเชยกลับโดยการ ทานอาหาร
    เพราะ ถ้าพลังกายลดลงมากเกินไป ร่างกายก็จะอ่อนแอถึงตายได้

    จิต ก็จำเป็นต้องนำ พลังจิตออกมาใช้งาน ในทุกๆกิจกรรม เช่นกัน
    ทำให้พลังจิตลดลง ซึ่งต้องโดยชดเชยกลับโดยการ ทำสมาธิ
    เพราะ ถ้าพลังจิตลดลงมากเกินไป จิตใจก็จะอ่อนแอ-เสื่อม อาจถึงเป็นบ้าได้

    ดังนั้น พลังกาย และ พลังจิต
    จึงเป็นสิ่งสำคัญที่สุด ในการดำรงชีวิตประจำวันของมนุษย์


    - ความสุข / สงบในสมาธิ และ การเข้าฌานได้
    เป็นแค่
     

แชร์หน้านี้

Loading...