สอนให้นึกเห็นพระแก้วใส (แบบที่ 1 2 3 4)

ในห้อง 'ธรรมทาน - วิทยาทาน' ตั้งกระทู้โดย glassbuddha2009, 23 พฤศจิกายน 2024 at 15:20.

  1. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    37,150
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,848
    นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุทธัสสะ

    กราบนมัสการพระภิกษุ/สามเณร/นักบวชทุกๆท่าน และสวัสดีทุกๆท่านครับ

    กระทู้นี้ ผมค่อยๆเขียน ไม่ได้เร่งรีบ จึงอาจจะไม่เหมาะกับบางท่าน ท่านอาจใช้วิธีกลับมาดูใหม่ภายหลังได้ทุกเมื่อครับ

    ท่านที่เห็นว่าดี มีประโยชน์ หากจะนำไปเผยแผ่ต่อ ผมขอให้นำไปทั้งหมด เพราะหากนำไปตัดต่อ หรือแก้ไขดัดแปลง ก็อาจคลาดเคลื่อนไปจากสิ่งที่ผมได้เขียนอยู่นี้ ซึ่งสิ่งที่ผมเขียนอยู่นี้ จะผิดถูกประการใด มีเพียงท่านเองเท่านั้นที่จะตัดสินได้

    โปรดติดตามครับ
     
  2. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    37,150
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,848
    สำรองพื้นที่
     
  3. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    37,150
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,848
    สารบัญ

    หน้า 1.
     
  4. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    37,150
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,848
    เนื่องจากหลายเดือนมานี้ ผมและกัลยาณมิตรท่านหนึ่งได้ชวนกันนั่งสมาธิ ส่วนมากผมได้รับคำแนะนำจากท่าน เมื่อหลายวันมานี้ ท่านสอนผมทำกฐินไฟ การนึกเห็นพระแก้วใส ซึ่งท่านบอกว่า ตัวท่านเองทำไม่ได้ (ทั้งๆที่ท่านเก่งหลายเรื่อง) ผมตอบในการสนทนาของเราว่า สำหรับผมนั้น เนื่องจากเคยอยู่โรงงานแก้วชนิดหลายเบ้าคละสี ซึ่งมีปากเบ้าเป็นรูปวงกลม มีแสงสว่างของน้ำแก้วเหลวส่องสว่างอยู่ตลอดเวลา และหนึ่งในงานที่ผมเคยดูแลเมื่อประมาณปี พ.ศ. 2516-2520 (+ -) คือการสร้างพระแก้ว 25 พุทธศตวรรษที่สมัยนั้นสร้างกันหลายสำนักหลายวัดหลายโรงงาน (พ.ศ. 2497 98 ถึง พ.ศ. 2535 + - )*

    หมายเหตุ
    * = ถึงแม้แทบทุกสำนักได้หยุดสร้างเมื่อ พ.ศ. 2535 + - แต่หลายครั้งที่ผมไปพบเพื่อนเจ้าของโรงงานแก้วหลายแห่ง เช่น ประมาณ พ.ศ. 255X หรืออาจจะเป็น 2560 ผมไปเยี่ยมคุณสมศักดิ์เจ้าของโรงงานแก้วเจษฏา ท่านยังสร้างพระแก้วหน้าตัก 5 นิ้วแก้วใสเป็นล๊อตพิเศษตามคำสั่งสร้างจากผู้สั่งสร้างเจ้าหนึ่ง และที่โรงงานแก้วอื่นอีก 2-3 แห่ง
     
  5. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    37,150
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,848
    เนื่องจากผมมองปากเบ้าหลอมแก้ววันหนึ่งๆนับร้อยๆครั้ง และงานสร้างพระแก้วที่ผมสร้างต่อมาเพิ่งหยุดไปเมื่อปี พ.ศ. 2561 62 ทำให้ผมจำภาพปากเบ้า (วงกลม) ได้ดี มันติดตาครับ

    และภาพพระแก้วก็เช่นกัน คือเนื่องจากหลังปี พ.ศ. 2550 ผมหันมาสร้างด้วยแก้วคริสตัล ขบวนการสร้างนั้น ผมต้องจินตนาการไปด้วย จึงทำให้นึกเห็นในใจได้ง่าย
     
  6. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    37,150
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,848
    กัลยาณมิตรของผมท่านนี้ ท่านบอกว่า ท่านนึกไม่ออก

    เมื่อ 2 - 3 วันนี้ ผมลองสอนท่านด้วยวิธีนึกถึงขวดน้ำใสที่น้ำเต็ม สมมุติขวดคือพระแก้ว น้ำในขวดคือเนื้อแก้วคริสตัล ท่านเริ่มนึกออก และท่านบอกผมว่า หากเขียนไว้เป็นวิทยาทานแก่ทุกๆท่าน น่าจะเป็นประโยชน์ไม่มากก็น้อย
     
  7. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    37,150
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,848
    ส่วนมากโรงงานแก้วชนิดเบ้าคละสีในไทยมักเป็นชนิดเตาละ 6 - 8 เบ้า
    Screenshot_20241123_160923_Photo Editor.jpg
     
  8. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    37,150
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,848
    Screenshot_20241123_160807_Photo Editor.jpg ปากเบ้าหลอมแก้วในช่วงกลางวันตอนที่อุณหภูมิประมาณ 1,300C - 1,400C สีจะสุกเต็มที่ พอเลิกงาน น้ำแก้วหมดทุกเบ้า ช่างจะค่อยๆลดไฟเตาลงเหลือ 600-900C สีจะไม่สุกขนาดนี้ ผมนอนเฝ้าโรงงานด้วยจึงชอบมามองปากเบ้าในตอนกลางคืนด้วย แต่เมื่อถึงเที่ยงคืน ตี 1 ช่างเติมทรายแก้วและเคมีภัณฑ์เต็มเบ้าแล้ว เขาจะเร่งไฟกลับมาแรงอีก ดังนั้นถ้าจะมองนานต่อเนื่องควรมองตอน 600C ครับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 24 พฤศจิกายน 2024 at 06:07
  9. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    37,150
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,848
    แบบที่ 1 (ดิน)

    ที่แท้เนื้อแก้วคริสตัลนั้น ถึงแม้จะเป็นสีใส เนื้อละเอียดยิบ เป็นของแข็ง แต่ที่แท้ก็คือ(ดิน)
     
  10. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    37,150
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,848
    1.1 สีของเนื้อแก้วคริสตัล มีทุกสี ทั้งสีโปร่งแสง สีกึ่งโปร่งกึ่งทึบแสง สีทึบแสง

    1.1.1 สีเนื้อแก้วคริสตัลสีโปร่งแสง เช่น สีใส (ไม่มีสี) เหมือนน้ำที่ใสสนิท ใสชนิดไม่มีฟองอากาศ* สีนี้สามารถมองเห็นได้เป็นสีใสธรรมดา สีใสออกประกายรุ้งเล็กน้อย (เนื้อแก้วคริสตัล 24% และ 30% PbO) แก้วคริสตัลชนิดเนื้อใสด้วยส่วนประกอบตะกั่วอ๊อกไซด์ 24% และ 30%

    ความใสจนกระทั่งสามารถประกายรุ้งได้หลายระดับ แสง มุมส่องแสง และอื่นๆเป็นตัวทำให้รุ้งมากน้อย รวมทั้งมุมของผิวของพระแก้วด้วย
     
  11. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    37,150
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,848
    หมายเหตุ

    * = เนื้อแก้วคริสตัลที่ใสสนิท ไม่มีฟองอากาศในโลกมนุษย์นั้น ผลิตได้ค่อนข้างยาก แต่ในจินตนาการกลับทำได้ง่ายกว่า
     
  12. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    37,150
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,848
    20241124_064236.jpg
    สูตรเคมีภัณฑ์ที่ใช้ในการหลอมเป็นแก้วคริสตัลช่วงปี พ.ศ. 2550 - 2560

    จดราคาต้นทุนต่อกิโลกรัม น่าจะเป็นปี พ.ศ. 2553 54
     
  13. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    37,150
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,848
    เมื่อผมและปีเตอร์(หัวหน้าช่างแก้วแผนก Lost Wax Glass)ของโรงงานแก้วโลตัสคริสตัล ระยอง ได้ร่วมกันโดยได้รับอนุญาตจากโรงงานโลตัสคริสตัล ให้ปรึกษางานการสร้างพระแก้วหน้าตัก 9” เนื้อตัน เทคนิคหล่อหลอมแก้วในแม่พิมพ์ปูนทนร้อนสูง (Lost Wax Glass) เมื่อปี พ.ศ. 2550 ถึง 2553 54 จนกระทั่งประสบความสำเร็จเป็นครั้งแรกของประเทศไทย

    หลังจากนั้น เรายังร่วมกันเป็นการส่วนตัว (ไม่เกี่ยวกับโลตัสคริสตัล) ต่อมาถึงประมาณ พ.ศ. 2562 เป็นอันยุติ อันเนื่องมาจากอายุปีเตอร์ปีนั้นเลยเลข 7X กว่าๆแล้ว

    ผมได้เก็บเกี่ยวความทรงจำงานหล่อหลอมแก้วคริสตัล จนสามารถจินตนาการตามได้ และนี่คือที่มาของการนึกให้มองเห็นได้

    แต่ทุกท่านอาจไม่ต้องลำบากมาทำงานหล่อนี้ ท่านอาจจินตนาการตามได้ ตามที่ผมจะได้เขียนต่อไปในกระทู้นี้ครับ
     
  14. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    37,150
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,848
    ภาพพระแก้วหน้าตัก 9 นิ้ว เป็นขนาดใหญ่ที่สุดในไทย เพราะตั้งแต่ พ.ศ. 2496 97 ที่ไทยสร้างพระแก้วด้วยการหลอมจากทรายแก้วผสมเคมีภัณฑ์มา เราไม่เคยสร้างหน้าตักขนาดเกิน 5.5 นิ้วเลย
    8EF3012B-CDDD-4EAE-8FA9-23B0C4CB133A.jpeg E58B21C8-51D3-406C-AE9A-15112046E9C1.jpeg 3B318990-1039-4B74-9990-B20768CEB58E.jpeg 0915EB74-441E-4415-B35F-B381BC5E04B5.jpeg BC04A85F-85E0-4FCD-9BD8-7E6AF47C0A12.jpeg
    เริ่มต้นโครงการคือมกราคม กว่าจะได้หุ่นต้นแบบก็มีนาคม พ.ศ. 2548 (ค.ศ. 2005) โรงงานแก้วเจษฏารับงานแก้วกลวงจำนวน 500 องค์ สร้างเสร็จประมาณกลางปี พ.ศ. 2549

    ผมไปบวช 7 เดือน กลับมาเริ่มต้นเนื้อคริสตัลตันเมื่อมกราคม พ.ศ. 2550 กว่าจะสำเร็จก็ พ.ศ. 2552 (ค.ศ. 2009) จึงเป็นที่มาของ user name ชื่อ glassbuddha2009 ครับ
     
  15. glassbuddha2009

    glassbuddha2009 087-7459995 สมบูรณ์ ติยะวงศ์สกุล

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 พฤศจิกายน 2008
    โพสต์:
    37,150
    กระทู้เรื่องเด่น:
    2
    ค่าพลัง:
    +53,848
    แบบที่ 2 (น้ำ)

    จากการที่ผมจินตนาการการหล่อหลอมแก้วคริสตัลในเทคนิค Lost Wax Glass เราใช้แม่พิมพ์ปูนทนร้อนสูง ทำการกลับพระเศียรลง (up side down) วางไว้ในเตาอบ/เตาลดอุณหภูมิ แล้ววางกระถางดินเผาที่มีรูที่ก้นกระถาง วางก
     

แชร์หน้านี้

Loading...