ดาวหาง, อุกาบาต วัตถุนอกโลกที่คาดว่าจะเข้ามาในโลกช่วง ปีนี้ (2014)

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 7 มีนาคม 2013.

  1. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    รู้สึกว่า ช่วงนี้มีวัตถุนอกโลกเข้ามาเยอะจัง ขอรวบรวมไว้ที่เดียวกันตรงนี้เลยนะ จะได้ง่ายต่อการอัพเดท และค้นหา

    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 มกราคม 2014
  2. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
  3. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    แคนาดาส่งดาวเทียมสำรวจวัตถุที่เข้ามาใกล้โลก

    Hunting near Earth objects – Canada launches NEO hunter

    By Adonai – Posted on March 7, 2013


    [​IMG]

    Canada launched world’s first space telescope specifically designed to spot potentially hazardous asteroid and satellites. NEOSSat space satellite – Near Earth Object Surveillance Satellite – was launched on Monday, February 25, 2013 atop an Indian rocket. It now circles the globe every 100 minutes, scanning space near the Sun to pinpoint asteroids that may someday pass close to Earth. NEOSSat is also sweeping the skies in search of satellites and space debris as part of Canada’s commitment to keeping orbital space safe for everyone.
    The Aten asteroid group (shown in green). The Sun is in the center, with the planets Mercury (black), Venus (yellow), Earth (blue) and Mars (red). Author: Andrew Buck

    [​IMG]

    The Aten asteroid group (shown in green). The Sun is in the center, with the planets Mercury (black), Venus (yellow), Earth (blue) and Mars (red). Author: Andrew Buck

    Region of space NEOSSat aims to explore lies between 45 and 55 degrees away from the Sun, well inside Earth’s orbit. Orbiting nearly 800 km above the Earth’s surface it will monitor two groups of asteroids – Aten and Atira.

    The proximity of those two asteroid groups to the Sun makes them hard to spot from Earth. Members of both groups started out as asteroids in the main asteroid belt, between Mars and Jupiter, but gravitational interactions or collisions slowed these asteroids down to begin their spiral in toward the Sun.

    The Atira group asteroids have orbits that fall entirely inside Earth’s orbit. The Atens’ orbits occasionally cross that of Earth. Given the distances involved, NEOSSat will be able to detect Atens or Atiras about 300 m across or larger. The Atens appear to be the more worrisome of the two groups NEOSSat will observe.

    Due to its lofty location, it is not limited by the day-night cycle, and can operate 24/7. The hundreds of images that NEOSSat will generate per day will be downloaded and analyzed by the University of Calgary’s NEOSSat science operations centre. Through NEOSSat, Canada will contribute to the international effort to catalogue the near-Earth population of asteroids producing information that will be crucial to targeting new destinations for future space exploration missions.

    [​IMG]
    An employee is setting up radio frequency feed horns pointing at NEOSSat in a small anechoic chamber at the David Florida Laboratory located in Ottawa, Ontario. This will test how the satellite reacts to radio frequency signals. NEOSSat is a dual-mission microsatellite designed to detect potentially hazardous Earth-orbit-crossing asteroids and track objects that reside in deep space. It is also the first implementation of Canada’s generic multi-mission microsatellite bus. (Credit: Janice Lang, DRDC)

    NEOSSat was originally scheduled for launch in 2010, but delays set it back until 2013. Alongside 6 more satellites, NEOSSat was launched on February 25, 2013, from the Satish Dhawan Space Centre in Sriharikota, India, at 12:31 UTC aboard an Indian PSLV-C20 rocket.

    Featured image: An employee is removing the infrared test rig surrounding NEOSSat after the final thermal vacuum test at the David Florida Laboratory located in Ottawa, Ontario. NEOSSat is a dual-mission microsatellite designed to detect potentially hazardous Earth-orbit-crossing asteroids and track objects that reside in deep space. It is also the first implementation of Canada’s generic multi-mission microsatellite bus. (Credit: Janice Lang, DRDC)

    แคนาดาส่งดาวเทียมที่มีกล้องโทรทัศน์ที่ออกแบบมาเฉพาะสำรวจอุกาบาต, ดาวเคราะห์น้อย ที่มีอันตราย และดาวเทียม. ดาวเที่ยม NEOOSSat - เป็นดาวเทียมที่เฝ้าระวังวัตถุที่เข้ามาใกล้โลก ถูกส่งไปในวัน

    จันทร์ที่ 25 กุมภาพันธ์ 2013 บนจรวดของอินเดีย ตอนนี้มันจะหมุนรอบโลกทุกๆ 100 นาที สแกนอวกาศที่ใกล้ๆ ดวงอาทิตย์เพื่อตรวจจับอุกาบาตและเศษอุกาบาตที่เข้ามาใกล้โลก ส่วนหนึ่งของความมุ่งมั่นของแคนนาดาเพื่อรักษาพื้นที่วงโคจรให้ปลอดภัยสำหรับทุกคน


    กลุ่มอุกาบาตของ Aten จะแสดงเป็นสีเขียว
    ดวงอาทิตย์อยู่ตรงกลาง
    ดาวพุธ แสดงเป็นสีดำ
    ดาวศุกร์ สีเหลือง
    โลกสีฟ้า
    ดาวอังคาร สีแดง
    ผู้เขียน Andrew Buck
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 8 มีนาคม 2013
  4. rehacked

    rehacked เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 มกราคม 2010
    โพสต์:
    1,191
    ค่าพลัง:
    +8,013
    แค่3เดือนแรกก็หลายลูกแล้ว อันที่เจอไม่กลัว กลัวแบบที่รัซเซีย อยู่ๆก็โผล่มาเลย
     
  5. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791

    ใช่ๆ จ้า

    นี่คือ เหตุผลหนึ่งซึ่งตอนนี้ต้องจับตาเจ้าวัตถุนอกโลกอย่างใกล้ชิด อย่างน้อยเผื่อมีนักดูดาวสมัครเล่นเห็นอะไรต่อมิอะไรก่อน

    สงสัยอย่างหนึ่งคือ องค์การอวกาศประเทศต่างๆ มีเครื่องมือ ทันสมัยมาก แต่ไม่เคยมาบอกอะไร ดาวหาง อุกาบาต ดาวเคราะห์น้อยหรืออะไรต่อมิอะไร จะถูกค้นพบโดยนักดูดาวสมัครเล่นเป็นประจำ

    แล้วไอ้เจ้านักดูดาวสมัครเล่นนี่ มีตัวตนจริงหรือเปล่า อิอิ
     
  6. rehacked

    rehacked เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    21 มกราคม 2010
    โพสต์:
    1,191
    ค่าพลัง:
    +8,013
    คงเป็นนามปากกา ด้วยเหตุผลหลายประการ ถ้าเดาๆก็
    1. เพื่อหลีกเลี่ยงจากสำนักข่าวต่างๆทั้งในและนอกประเทศ ที่ต้องไปสอบถามเรื่องแผนรับมือบ้าง เรื่องผลกระทบบ้าง
    2. เพื่อหลีกเลี่ยงจากการเมืองการทหารจากต่างประเทศ เพราะถ้าบอกว่าตรวจเจอก็คงต้องมีประเทศอื่นๆขอข้อมูล
    ซึ่งแน่นอนว่าความลับก็อาจโดนเอาไปบ้าง
    3. หลีกเลี่ยงปัญหาต่างๆตามมาเช่นถ้าบอกว่าผ่านเฉยๆ ถ้าเกิดชนก็บ่ายเบี่ยงได้ เมื่อเกิดข้อผิดพลาด

    คร่าวๆน่าจะแค่นี้มั้ง :boo:
     
  7. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    3 วิธี ที่จะรักษาโลกจากอุกาบาต

    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=OlbaYbWuPCU&feature=player_embedded]3 Ways to Save Earth from an Asteroid - YouTube[/ame]
     
  8. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ขอเอากระทู้นี้กลับมา ประจำการณ์ตามเจตน์จำนงของท่าน Falkman

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    เริ่มมีอุกกาบาตให้เห็นเยอะขึ้นกว่าปกติ สำหรับท่านที่ชอบสังเกตวัตถุบนท้องฟ้ายามค่ำคืน น่าจะชอบ

    .
     
  9. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    มารู้จักกับเครือข่ายหน่วยงานที่เฝ้าติดตาม เทหวัตถุ กันครับ
    เกือบ 2,000 ไซต์ทั่วโลกที่กำลังตรวจหา Asteroid จะถูกลิงค์เชื่อมโยงกัน และที่นี่จะเป็นเหมือนศูนย์กลางที่จะเชื่อมโยงกับ NASA อีกที

    [​IMG]


    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]


    เพิ่มลิงค์ : http://www.minorplanetcenter.net/

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 กรกฎาคม 2013
  10. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    ระบบค้นหาและตรวจจับอุกกาบาตที่มีประสิทธิภาพ น่าจะเป็นความเร่งด่วนที่สุด

    ช่วง 1 สัปดาห์แรกของเดือน กค. นี้ มีถีง 10 NEO's ที่ตรวจจับได้เมื่อเข้ามาจนใกล้โลกมากๆแล้ว

    .
     
  11. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 กรกฎาคม 2013
  12. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    เมื่อ 5 นาที ที่แล้ว ผมว่าขนาดไม่เล็กเลยนะ


    [​IMG]

    .
     
  13. md626

    md626 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 ตุลาคม 2009
    โพสต์:
    1,081
    ค่าพลัง:
    +1,394
    เข้ามาเป็นกำลังใจให้ท่านFalkmanค่ะที่แยกกระทู้นี้ออกมาเป็นสัดส่วน
    ซึ่งง่า่ยต่อการติดตามข้อมูลดีๆ ที่เป็นประโยชน์ต่อทุกท่านค่ะ
     
  14. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]


    2013 NS13 ได้ผ่านโลกเราไปแล้วเมื่อเช้านี้เวลา 8:34 น. (ไทย)

    .
     
  15. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    ภาพจาก SPAM 3D เมื่อ 11:07 น. (ไทย)

    [​IMG]

    .
     
  16. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    อัพเดทข้อมูล ครับ


    [​IMG]

    .
     
  17. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    How Can We Stop An Asteroid?
    by JASON MAJOR on JULY 25, 2013


    <iframe width="640" height="360" src="http://www.youtube.com/embed/Agdvt9M3NJA?feature=player_detailpage" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    “It’s like looking for a charcoal briquette in the dark,” says Bill Nye the Science Guy in this new video from AsapSCIENCE… except he’s talking about briquettes hundreds of meters wide whizzing past our planet upwards of 8, 9, 10, even 20 kilometers per second — and much, much denser than charcoal.
    Near-Earth asteroids are out there (and on occasion they even come in here) and, as the planet’s only technologically advanced spacefaring species, you could say the onus is on us to prevent a major asteroid impact from occurring, if at all possible — whether to avoid damage in a populated area or the next mass extinction event. But how can we even find all these sooty space rocks and, once we do, what can be done to stop any headed our way?



    คิดซะว่าเป็นการฝึก listening แบบสนุกๆ ได้ความรู้ด้วยนะครับ

    .
     
  18. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    -------------------------------------------------------------------------------------------------


    METEOR ACTIVITY PICKS UP:

    The Canadian Meteor Orbit Radar (CMOR) is scanning the skies over North America for signs of meteor activity. This all-sky map produced during the early hours of July 31st shows an active radiant in the constellation Aquarius:

    [​IMG]

    SDA is the three-letter code for the Southern Delta Aquariid meteor shower, which occurs every year in late July when Earth passes through a stream of debris from comet 96P/Machholz. Observers are reporting more than a dozen meteors per hour from this radiant. They are best seen from the southern hemisphere during the dark hours between midnight and dawn.

    The complete radar map shows another more significant radiant coming to life. The annual Perseid meteor shower is just getting started as Earth enters the outskirts of a debris stream from big comet 109P/Swift-Tuttle. Forecasters expect the shower to peak on August 12-13 with ~100 meteors per hour, an order of magnitude stronger than the Southern Delta Aquariids. Stay tuned.


    [​IMG]

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 31 กรกฎาคม 2013
  19. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    เมื่อเวลา 18:00 น. เวลาประเทศไทย

    [​IMG]

    SPAM 3D

    .
     
  20. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    จากสถานี Penrith, UK (Location 54.667N 2.752W) เวลา 14:48 น. เวลาไทย

    .
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 4 สิงหาคม 2013

แชร์หน้านี้

Loading...