anchalee_mata39
ความเคลื่อนไหวล่าสุด:
12 มิถุนายน 2013
วันที่สมัครสมาชิก:
1 มิถุนายน 2010
โพสต์:
0
พลัง:
0

โพสต์เรตติ้ง

ได้รับ: ให้:
ถูกใจ 0 0
อนุโมทนา 0 0
รักเลย 0 0
ฮ่าๆ 0 0
ว้าว 0 0
เศร้า 0 0
โกรธ 0 0
ไม่เห็นด้วย 0 0
ที่ตั้ง:
โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี หมู่ที่ 2 ถ.กาญจนาภิเษ
อาชีพ:
รับราชการครู ตำแหน่ง ครูชำนาญการ

แชร์หน้านี้

    1. anchalee_mata39
      anchalee_mata39
      (๑๑) รู้ชัดซึ่งจิตอันยังมีจิตอื่นยิ่งกว่า ว่า "จิตยังมีจิตอื่นยิ่งกว่า" (๑๒) รู้ชัดซึ่งจิตอันไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า ว่า "จิตไม่มีจิตอื่นยิ่งกว่า" (๑๓) รู้ชัดซึ่งจิตอันตั้งมั่น ว่า "จิตตั้งมั่น" (๑๔) รู้ชัดซึ่งจิตอันไม่ตั้งมั่น ว่า "จิตไม่ตั้งมั่น" (๑๕) รู้ชัดซึ่งจิตอันหลุดพ้นแล้ว ว่า "จิตหลุดพ้นแล้ว"
    2. anchalee_mata39
      anchalee_mata39
      "จิตปราศจากโมหะ" (๗) รู้ชัดซึ่งจิตอันหดหู่ ว่า "จิตหดหู่" (๘) รู้ชัดซึ่งจิตอันฟุ้งซ่าน ว่า "จิตฟุ้งซ่าน" (๙) รู้ชัดซึ่งจิตอันถึงความเป็นจิตใหญ่ ว่า "จิตถึงแล้วซึ่งความเป็นจิตใหญ่" (๑๐) รู้ชัดซึ่งอันไม่ถึงความเป็นจิตใหญ่ว่า "จิตไม่ถึงแล้วซึ่งความเป็นจิตใหญ่"
    3. anchalee_mata39
      anchalee_mata39
      (๑) รู้ชัดซึ่งจิตอันมีราคะ ว่า "จิตมีราคะ" (๒) รู้ชัดซึ่งจิตอันปราศจากราคะ ว่า "จิตปราศจากราคะ (๓) รู้ชัดซึ่งจิตอันมีโทสะ ว่า "จิตมีโทสะ" (๔) รู้ชัดซึ่งจิตอันปราศจากโทสะ ว่า "จิตปราศจากโทสะ" (๕) รู้ชัดว่าจิตอันมีโมหะ ว่า "จิตมีโมหะ" (๖) รู้ชัดว่าจิปราศจากโมหะ ว่า
    4. anchalee_mata39
      anchalee_mata39
      อีกนัยยะหนึ่ง ที่พระพุทธองค์ทรงบัญญัติให้เราตามเห็นจิต (จิตฺตานุปสฺสนา) แท้จริงแล้วก็เพื่อให้เห็นเหตุเกิดและเสื่อมไป โดยอาศัยการตามเห็น "อาการของจิต" เพียงแค่ ๘ คู่อาการเท่านั้น ภิกษุ ท.! ภิกษุเป็นผู้มีปกติพิจารณาเห็นจิตในจิตอยู่ นั้นเป็นอย่างไรเล่า? ภิกษุ ท.ภิกษุในกรณีนี้
    5. anchalee_mata39
      anchalee_mata39
      กรณีรส เปรียบด้วยความเร็วแห่งน้ำลายที่ถ่มจากปลายลิ้นของคนแข็งแรง,กรณีโผฏฐัพพะเปรียบด้วยความเร็วแห่งการเหยียดแขนพับแขนของคนแข็งแรง, กรณีธรรมารมณ์เปรียบด้วยความเร็วแห่งการแห้งของหยดน้ำบนกระทะเหล็ก ที่ร้อนแดงอยู่ตลอดทั้งวัน)
    6. anchalee_mata39
      anchalee_mata39
      กลิ่นที่รู้แจ้งด้วยฆานะ รสที่รู้แจ้งด้วยชิวหา โผฏฐัพพะที่รู้แจ้งด้วยผิวกาย และธรรมารมณ์ที่รู้แจ้งด้วยใจ ทรงตรัสอย่างเดียวกัน ต่างกันแต่อุปมาแห่งความเร็วในการดับแห่งอารมณ์นั้นๆ,คือกรณีเสียง เปรียบด้วยความเร็วแห่งการดีดนิ้วมือ, กรณีกลิ่น เปรียบด้วยความเร็วแห่งหยดน้ำตกจากใบบัว
    7. anchalee_mata39
      anchalee_mata39
      อานนท์ ! อารมณ์อันเป็นที่ชอบใจ-ไม่เป็นที่ชอบใจ-ทั้งเป็นที่ชอบใจและไม่เป็นที่ชอบใจ อันบังเกิดขึ้นแก่ภิกษุนั้นย่อมดับไปเร็วเหมือนการกระพริบตาของคน อุเบกขายังคงดำรงอยู่.อานนท์ ! นี้แลเราเรียกว่าอินทรีย์การภาวนาชั้นเลิศในอริยวินัย ในกรณีแห่ง รูปที่รู้แจ้งด้วยจักษุ.(ในกรณีแห่ง เสียงที่รู้แจ้งด้วยโสตะ
    8. anchalee_mata39
      anchalee_mata39
      เป็นของหยาบ ๆ(โอฬาริก) เป็นสิ่งที่อาศัยเหตุปัจจัยเกิดขึ้น(ปฏิจฺจ สมุปฺปนฺน); แต่มีสิ่งโน้นซึ่งรำงับและประณีต, กล่าวคือ อุเบกขา" ดังนี้ (เมื่อรู้ชัดอย่างนี้) อารมณ์อันเป็นที่ชอบใจ-ไม่เป็นที่ชอบใจ-ทั้งเป็นที่ชอบใจและไม่เป็นที่ชอบใจ อันบังเกิดขึ้นแก่ภิกษุนั้น ย่อมดับไป,
      อุเบกขายังคงดำรงอยู่.
    9. anchalee_mata39
      anchalee_mata39
      อานนท์ ! อินทรีย์ภาวนาชั้นเลิศ(อนุตฺตรา อินฺทฺริยภาวนา)ในอริยวินัยเป็นอย่างไรเล่า? อานนท์ ! ในกรณีนี้ อารมณ์อันเป็นที่ชอบใจ -ไม่เป็นที่ชอบใจ- ทั้งเป็นที่ชอบใจและไม่เป็นที่ชอบใจ อันบังเกิดขึ้นแก่ภิกษุเพราะเห็นรูปด้วยตา. ภิกษุนั้นรู้ชัดอย่างนี้ว่า "อารมณ์ที่เกิดขึ้นแล้วแก่เรานี้ เป็นสิ่งมีปัจจัยปรุงแต่ง(สงฺขต)
    10. anchalee_mata39
      anchalee_mata39
      มากแล้วหนอ" ดังนี้ก็ดี ภิกษุเหล่านี้เรียกว่า เป็นผู้ไม่ประมาทแล้ว,เป็นผู้เจริญมรณสติเพื่อความสิ้นอาสวะอย่างแท้จริง. ภิกษุทั้งหลาย ! เพราะฉนั้นในเรื่องนี้ พวกเธอทั้งหลายพึงสำเหนียกใจไว้ว่า "เราทั้งหลาย จักเป็นผู้ไม่ประมาทเป็นอยู่, จักเจริญมรณสติ เพื่อความสิ้นอาสวะอย่างแท้จริง"ดังนี้ (อฎฐก. อํ. ๒๓/๓๒๗/๑๗๐.)
    11. anchalee_mata39
      anchalee_mata39
      ชั่วขณะฉันอาหารเสร็จเพียงคำเดียว เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด การปฏิบัติตามคำสอนควรทำให้มาก มากแล้วหนอ" ดังนี้ก็ดี, ว่า"โอ้หนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียง ชั่วขณะที่หายใจเข้าแล้วหายใจออก หรือชั่วหายใจออกแล้วหายใจเข้า. เราพึงใส่ใจถึงคำสอนของพระผู้มีพระภาคเจ้าเถิด. การปฏิบัติตามคำสอนควรทำให้มาก
    12. anchalee_mata39
      anchalee_mata39
      สวัสดีค่ะคุณ อ.วันเวลาช่างผ่านไปเร็วมากๆ ทำให้รู้สึกว่าเวลาแห่งการศึกษาข้อธรรมด้วยการนำมาปฏิบัติเพื่อถึงซึ่งความหลุดพ้นของเรานั้นช่างเหลือน้อยเต็มที ดังคำสอนของพระพุทธองค์ท่านพึงเห็นว่า ชีวิตนั้นแสนสั้น ภิกษุทั้งหลาย ! ฝ่ายภิกษุพวกที่เจริญมรณสติอย่างนี้ว่า "โอหนอ เราอาจจะมีชีวิตอยู่ได้เพียง
    13. พุทธะธรรม
      พุทธะธรรม
      พอเริ่มรู้สึกได้ก็เริ่มจับเอา ตัวองค์ธรรมะในหลักทางสายกลางมาเป็นตัวกำกับ เช่นพอตาเห็นรูป จิตรับรู้ที่วิญญาณทางตา ก็จะมีความรู้ไปถึงความพอใจ ถ้าละความพอใจเสีย ความที่จิตจะปรุงเเต่ง หรือไปรู้อดีตคือสัญญา หรือ เวทนาก็ขาดลง ทำให้ความวิตก เเละวิจารสิ้นลง นี่คือการมีสติรู้เเละมีหลักในการวิตกวิจารให้อยู่ในธรรมะ เเห่งความพอดี
    14. พุทธะธรรม
      พุทธะธรรม
      สวัสดีครับ อ.ตรงนี้ก็เป็นเรื่องปกติสำหรับคนทั่วไปที่จะมีได้เป็นธรรมดา จะเห็นว่าผมเองตอนเเรกๆในช่วงที่เริ่มเขียนบันทึกในกระทู้ ก็เป็นเช่นเดียวกัน พอพิจารณาให้เป็น อรรถ เป็นธรรม กว่าจะเเยกความพอใจความเพลิน ความคิด เเละความรู้ ว่าเป็นอะไรเป็นอะไร ก็เคยเป็นอย่างนี้เหมือนกัน
    15. anchalee_mata39
      anchalee_mata39
      ก่อนที่พระพุทธองค์จะสำเร็จเป็นพระอรหันต์นั้น เสียงพิณ ที่ทำให้พระองค์รู้ว่าสายของพิณที่ตึงเกินไป หรือหย่อนเกินไป ย่อมไม่เกิดความไพเราะ ดังนั้นพระองค์จึงหันมาปฏิบัติโดยวิธีการเดินสายกลางหรือมัชฌิมาปฏิปทา พระองค์จึงสำเร็จเป็นพระอรหันต์ เป็นศาสดาเอกของโลก
    16. anchalee_mata39
      anchalee_mata39
      การมีสมาธิ หมายถึงการมีความตั้งมั่น หรือจิตที่จดจ่อ ต่อสิ่งที่เราจะทำ ไม่ว่าสิ่งนั้นจะเป็นหน้าที่การงาน หรือการใฝ่รู้ ใฝ่เรียนในทุกๆ เรื่อง โดยเฉพาะคำสอนของพระพุทธองค์ การมีสมาธิเท่านั้นที่ทำให้เราสามารถบรรลุผลในสิ่งที่เรากระทำให้สำเร็จ สัมฤทธิ์ผลได้อย่างมีคุณภาพ (ความเข้าใจของตนเอง)ผิดหรือถูกคะคุณ อ.
    17. anchalee_mata39
      anchalee_mata39
      สวัสดีค่ะคุณ อ. ก็ต้องขอกราบขอบพระคุณอีกครั้งต่อคำชี้นำที่บอกสอน ตนเองได้นำคำบอกกล่าวไปใคร่ครวญ เราไม่ควรมองความไม่ดีของผู้อื่น เพราะฉนั้นเราต้องวางเฉยให้จงได้แล้วหันมามองตนเอง เดินมรรคให้ถูกต้อง ปฏิบัติตนให้มีสติ มีสมาธิ มีปัญญาให้ดีที่สุดเพื่อความหลุดพ้นให้จงได้
    18. anchalee_mata39
      anchalee_mata39
      เมื่อผู้อื่นเป็นผู้ ลูบคลำด้วยทิฏฐิของตน,เป็นผู้ยึดถืออย่างเหนียวแน่น, และเป็นผู้ยากที่จะสลัดคืนซึ่งอุปาทาน, เราจักเป็นผู้ ไม่ลูบคลำด้วยทิฏฐิของตน,เป็นผู้ไม่ยึดอย่างเหนียวแน่น,แป็นผู้ง่ายที่จะสลัดคืนซึ่งอุปาทาน.(พุทธวจน)
    19. anchalee_mata39
      anchalee_mata39
      เมื่อผู้อื่นเป็นผู้ มีสุตะน้อย เราจักเป็นผู้ มีสุตะมาก เมื่อผู้อื่นเป็นผู้ ขี้เกียจ เราจักเป็นผู้ ปรารภความเพียร เมื่อผู้อื่นเป็นผู้ มีสติหลงลืม เราจักเป็นผู้ มีสติตั้งมั่น เมื่อผู้อื่นเป็นผู้ มีปัญญาทราม เราจักเป็นผู้ ถึงพร้อมด้วยปัญญา
    20. anchalee_mata39
      anchalee_mata39
      เราจักเป็นผู้ มีมิตรดี เมื่อผู้อื่นเป็นผู้ ประมาท เราจักเป็นผู้ ไม่ประมาท เมื่อผู้อื่นเป็นผู้ ไม่มีสัทธา เราจักเป็นผู้ มีสัทธา เมื่อผู้อื่นเป็นผู้ ไม่มีหิริ เราจักเป็นผู้ มีหิริ เมื่อผู้อื่นเป็นผู้ ไม่มีโอตตัปปะ เราจักเป็นผู้ มีโอตตัปปะ
  • Loading...
  • Loading...
  • เกี่ยวกับ

    ที่ตั้ง:
    โรงเรียนเทพศิรินทร์ นนทบุรี หมู่ที่ 2 ถ.กาญจนาภิเษ
    อาชีพ:
    รับราชการครู ตำแหน่ง ครูชำนาญการ
    ชื่อและนามสกุล:
    อัญชลี ด้วงแก้ว
    เกิดวันที่ 23 ตุลาคม 2501
Loading...