พอใจรูม

ในห้อง 'จักรวาลคู่ขนาน' ตั้งกระทู้โดย ppojai, 3 ตุลาคม 2010.

  1. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,907
    ค่าพลัง:
    +16,490
    ...........................................................................


    [​IMG]

    พราหมณ์คน หนึ่งเดินเข้ามาเฝ้าพระพุทธองค์ ในมือทั้งสองของพราหมณ์ประคองดอกไม้มาสองมือ เมื่อพระพุทธองค์ทรงเห็นดังนั้นก็ตรัสว่า
    "วางเถิดพราหณ์"
    พราหมณ์คนนั้นก็วางดอกไม้ในมือขวาลง แต่พระพุทธองค์ก็ทรงตรัสอีกว่า
    "วางเถิดพราหมณ์"
    พราหมณ์คนนั้นจึงวางดอกไม้ที่เหลือในมือข้างซ้ายลงอีก แต่กระนั้นแม้เมื่อพราหมณ์มือเปล่าแล้วพระพุทธองค์ก็ทรงตรัสอีกว่า
    "วางเถิดพราหมณ์"
    ดังนั้นพราหมณ์คนนั้นก็บรรลุธรรม



    ...........................................................................



    [​IMG]


    มีพระรูปหนึ่งได้ ถามอาจารย์เซนว่า "อะไรคือทาง"
    อาจารย์ตอบว่า "ภูเขาลูกนี้ช่างงามนัก"
    "ผมไม่ได้ถามถึงเรื่องภูเขา ผมถามเรื่องทางต่างหาก"
    "ตราบเท่าที่เธอยังไม่ได้พ้นภูเขา เธอก็จะไม่สามารถไปให้ถึงทางได้"อาจารย์ตอบ



    ...........................................................................

    [​IMG]

    โยมรู้จักน้ำที่มันไหลไหม เคยเห็นไหม น้ำนิ่งโยมเคยเห็นไหม
    ถ้าใจเราสงบแล้ว มันจะเป็นคล้ายๆกับ

    น้ำมันไหลนิ่ง
    โยม
    เคยเห็น น้ำไหลนิ่งไหม แน่ะ ก็โยมเคยเห็นแต่น้ำนิ่ง กับน้ำไหล
    น้ำไหลนิ่งโยมไม่
    เคย เห็น ตรงนั้นแหละ ตรงที่โยมคิดยังไม่ถึงหรอกว่า

    มัน เฉยมันก็เกิด ปัญญา ได้ เรียกว่าดูใจ ของโยมมันจะคล้าย
    น้ำไหล แต่ว่านิ่ง
    ดูเหมือน นิ่ง ดูเหมือนไหล
    เลยเรียกว่า น้ำไหลนิ่ง มันจะเป็นอย่างนั้น ปัญญา
    เกิดได้


    บรรยายธรรมของ หลวงพ่อชา สุภัทโท

    ...........................................................................


    [​IMG]

    "...ดอกไม้ไม่จำเป็นต้องมีอะไรอื่นอีก เพื่อที่จะเกื้อกูล

    ขอให้เป็นเพียงดอกไม้ ก็เพียงพอแล้ว
    สำหรับมนุษย์คนหนึ่ง ถ้าเข้าเป็นมนุษย์ที่แท้จริงได้ นั่นก็เพียงพอแล้ว
    ที่จะทำให้โลกสดชื่นและรื่นเริง

    เพราะฉะนั้น ขอให้เธอฝึกการหายใจเข้า-ออก
    และฟื้นความเป็นดอกไม้ในตัวเธอขึ้นมา..."


    ธรรม บรรยายโดยหลวงปู่ติช นัท ฮันท์

    ...........................................................................


    [​IMG]
    "สิ่งที่ สำคัญสุดของคนก็คือการกลับไปสู่คุณค่าของความเป็นมนุษย์
    ปัจจุบัน เรามาไกลจากตัวเองเกินไป จนเกิดเป็นความขัดแย้ง ความชอบ ไม่ชอบ ฯลฯ
    จนไม่ได้กลับมาเป็นตัวของตัวเอง นั่นเพราะเราหลุดจากจิตใจที่ดีของตัวเอง
    ไปสู่การปรุงแต่ง ฉะนั้นสิ่งแรกที่ต้องจัดการคือตัวเราว่าในการใช้สตินำจิตที่ดีกลับมา
    แล้วจะรู้สึกได้ว่าเราก็รักผู้อื่นเป็น ไม่ใช่รักแต่ตัวเอง
    แค่นี้ก็ทำให้ความสัมพันธ์ในสังคมเข้าใกล้กันมากขึ้น
    เพราะทุกสิ่งไม่ใช่เรื่องใหญ่ของชีวิต เราสามารถให้อภัยกันได้ เ
    พียงแค่ไม่หมกมุ่นอยู่ที่ปลายเหตุ แต่ขอให้กลับแก้ไขที่ต้นเหตุ
    นั่นก็คือจิตหรือบ้านของตัวเอง แล้วเราจะพบกับความสงบสุข"


    ธรรม บรรยายโดยหลวงปู่ติช นัท ฮันท์

    ...........................................................................



    [​IMG]


    คนที่ยังไม่เห็นตนเอง
    แต่คิดเอาว่าเห็นตนเองและปฏิบัติด้วยจิตว่างตลอดเวลานั้นเป็นเรื่องโกหกและ โง่เขลาด้วย เขาย่อมตกไปสู่ห้วงเหวอเวจีได้ เหมือนคนเมาไม่อาจแยกดีออกจากชั่วได้
    ถ้าท่านใส่ใจที่จะฝึกฝนอบรมการปฏิบัติให้เข้าใจตนเอง
    ท่านต้องเห็นตนเองเสียก่อน แล้วท่านจึงจะทำลายความคิดปรุงแต่งให้สิ้นสุดได้
    การบรรลุธรรมโดยไม่เห็นธรรมชาติของตนเองก่อนย่อมเป็นไปไม่ได้


    ...........................................................................

    [​IMG]


    "การมีอยู่" ไม่ใช่ "การมีอยู่"
    "การไม่มีอยู่" ไม่ใช่ "การไม่มีอยู่"
    หากพลาดจากกฏนี้ไปแม้เพียงเท่าเส้นผม
    จุดหมายก็จะอยู่ห่างไกลถึงพันไมล์
    เมื่อลืมตาตื่นขึ้นสู่ความเป็นจริง
    ความดีที่เป็นรูปแบบใดๆย่อมไม่ปรากฏ
    บุญกุศลที่ทำด้วยความยึดมั่น
    ย่อมนำความเพลิดเพลินยินดีมาให้
    แต่ก็เหมือนกับการยิงลูกศรขึ้นไปในอากาศ
    เมื่อหมดแรงมันก็ตกลงมาที่พื้นอีก
    จงทำงานตามลำพังเสมอ
    จงเดินตามลำพังเสมอ
    ศากยบุตรล้วนยากจนทางกาย
    แต่ไม่ยากจนในวิถีทางแห่งเซน
    เขาสวมเสื้อผ้าที่เก่าขาดเสมอ
    แต่ย่อมแฝงเพชรอันมีค่ามิได้อยู่ภายใน
    แม้ว่าจะใช้มันอย่างอิสระเพื่อช่วยผู้คนที่ผ่านพบ
    ย่อมไม่มีทางที่จะใช้ได้หมดสิ้น
    เมื่อไม่เข้าใจความหมายอันล้ำลึกของสรรพสิ่ง
    สันติสุขแท้จริงของจิตใจก็ถูกรบกวนไม่ให้มีอยู่
    การเปิดใจรับผัสสะและความคิดอย่างเต็มที่
    ด้วยดวงจิตที่ตระหนักรู้ เป็นสิ่งเดียวกับธรรมชาติเดิมแท้.


    ...........................................................................
    [​IMG]

    ความสงบในความเงียบหาใช่ความสงบที่ แท้จริงไม่
    เมื่อท่านสามารถทำใจให้สงบได้
    ท่ามกลางกิจกรรมต่างๆ
    นั่นจึงเป็นสภาวะสงบที่แท้จริงของธรรมชาติ
    เฉกเช่นเดียวกับความสุขจากความสะดวกสบาย
    ย่อมไม่ใช่ความสุขที่แท้จริง
    หากแต่เมื่อท่านสามารถมีความสุข
    ท่ามกลางความยากลำบาก
    นั่นแหละคือท่านได้เข้าถึงศักยภาพที่แท้จริงของจิตแล้ว

    หวนชู เดาเร็น


    ...........................................................................


    [​IMG]

    พระ พุทธองค์ทรงตรัสว่า
    "ไม่มีใครในโลกที่จะรักตัวเรามากไปกว่าตัวเราเอง ใจเราอาจล่องลอยไปเรื่อย แต่จะ ไม่พบใครอื่นที่จะรักได้มากกว่าตัวเอง ชั่วเวลาที่เราได้เห็นความสำคัญของการรักตัวเอง เราก็จะหยุดสร้างความทุกข์ให้แก่ผู้อื่น"


    ...........................................................................


    [​IMG]
    ในสรรพสิ่งทั้งหลายย่อมไม่มีอะไรที่จริงแท้
    ดังนั้นเราควรเปลื้องตนออกเสียจากความคิดเห็น

    ถึงความจริงแท้แห่งวัตถุเหล่านั้น
    ใครที่เชื่อในความจริงแท้ของวัตถุ ย่อมถูกพันธนาการอยู่ด้วยความคิดเห็นเช่นนั้นซึ่งล้วนแต่เป็นสิ่งลวง

    ใครที่ตระหนักชัดถึงความจริงแท้ในตัวเขาเอง ย่อมรู้ว่า
    จิตที่แท้ต้องค้นหาต่างที่กับปรากฏการณ์ที่ผิด ถ้าจิตของใครถูกพันธนาการไว้ด้วยปรากฏการณ์ที่เป็นความลวงแล้ว จะไปหาความจริงแท้ได้ที่ไหน
    ในเมื่อปรากฏการณ์ทั้งหลายไม่ใช่ความจริงแท้

    สัตว์ทั้งหลายย่อมเคลื่อนไหว วัตถุทั้งปวงย่อมหยุดนิ่ง
    ใครฝึกตนเองให้เป็นผู้ไร้ความเคลื่อนไหว
    ย่อมไม่ได้ประโยชน์อะไรนอกจากทำตนให้แน่นิ่งอย่างวัตถุ
    ถ้าท่านจะหาความสงบนิ่งที่ถูกแบบ ก็ควรเป็นความสงบนิ่งภายในการเคลื่อนไหว ความสงบนิ่ง ( เหมือนอย่างวัตถุ) ก็เป็นเพียงความสงบนิ่ง (ไม่ใช่ธฺยานะ)........”


    สูตร ของเว่ยหล่าง
    พุทธทาสภิกขุแปล


    ...........................................................................
     
  2. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,907
    ค่าพลัง:
    +16,490
    คำสอนพุทธ-เซ็น (ตอนจบ)

    [​IMG]
    <!--/* Font Definitions */@font-face{font-family:&quot;Cordia New&quot;;panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}@font-face{font-family:&quot;Cambria Math&quot;;panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:roman;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Calibri;panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Tahoma;panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;}/* Style Definitions */p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal{mso-style-unhide:no;mso-style-qformat:yes;mso-style-parent:&quot;&quot;;margin-top:0cm;margin-right:0cm;margin-bottom:10.0pt;margin-left:0cm;line-height:115%;mso-pagination:widow-orphan;font-size:11.0pt;mso-bidi-font-size:14.0pt;font-family:&quot;Calibri&quot;,&quot;sans-serif&quot;;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoChpDefault{mso-style-type:export-only;mso-default-props:yes;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoPapDefault{mso-style-type:export-only;margin-bottom:10.0pt;line-height:115%;}@page Section1{size:612.0pt 792.0pt;margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;mso-header-margin:36.0pt;mso-footer-margin:36.0pt;mso-paper-source:0;}div.Section1{page:Section1;}--><!--/* Font Definitions */@font-face{font-family:&quot;Cordia New&quot;;panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}@font-face{font-family:&quot;Cambria Math&quot;;panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:roman;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Calibri;panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Tahoma;panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;}/* Style Definitions */p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal{mso-style-unhide:no;mso-style-qformat:yes;mso-style-parent:&quot;&quot;;margin-top:0cm;margin-right:0cm;margin-bottom:10.0pt;margin-left:0cm;line-height:115%;mso-pagination:widow-orphan;font-size:11.0pt;mso-bidi-font-size:14.0pt;font-family:&quot;Calibri&quot;,&quot;sans-serif&quot;;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoChpDefault{mso-style-type:export-only;mso-default-props:yes;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoPapDefault{mso-style-type:export-only;margin-bottom:10.0pt;line-height:115%;}@page Section1{size:612.0pt 792.0pt;margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;mso-header-margin:36.0pt;mso-footer-margin:36.0pt;mso-paper-source:0;}div.Section1{page:Section1;}-->
    ชีวิตที่ชัวช้าสามานย์ ถึงอยู่นานร้อยปีมิมีค่า
    ถึงจะมีชีวิตอยู่ตั้งร้อยปีแต่ร้อยปีนั้น หมดเปลือง
    ไปกับสิ่งที่ไร้แก่นสารผู้คนนั้นจะต่างอะไร

    กับเศษสวะที่ล่องลอยไปตามกระแสน้ำ


    เรียวกัน
    ...........................................................................

    [​IMG]

    <!--/* Font Definitions */@font-face{font-family:&quot;Cordia New&quot;;panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}@font-face{font-family:&quot;Cambria Math&quot;;panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:roman;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Calibri;panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Tahoma;panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;}/* Style Definitions */p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal{mso-style-unhide:no;mso-style-qformat:yes;mso-style-parent:&quot;&quot;;margin-top:0cm;margin-right:0cm;margin-bottom:10.0pt;margin-left:0cm;line-height:115%;mso-pagination:widow-orphan;font-size:11.0pt;mso-bidi-font-size:14.0pt;font-family:&quot;Calibri&quot;,&quot;sans-serif&quot;;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoChpDefault{mso-style-type:export-only;mso-default-props:yes;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoPapDefault{mso-style-type:export-only;margin-bottom:10.0pt;line-height:115%;}@page Section1{size:612.0pt 792.0pt;margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;mso-header-margin:36.0pt;mso-footer-margin:36.0pt;mso-paper-source:0;}div.Section1{page:Section1;}-->
    การรู้แจ้ง ของมนุษย์ เปรียบได้กับภาพสะท้อน ของดวงจันทร์บนผิวน้ำ
    ดวงจันทร์นั้นไม่เปียกและผิวน้ำก็ไม่แยกจากกัน
    แม้ดวงจันทร์จะทอแสงคลุมพื้นที่กว้างใหญ่ไพศาล
    แต่ดวงจันทร์ก็ยังคงแน่นิ่งอยู่ในห้วงน้ำอันน้อยนิด
    ท้องฟ้านภากว้างมาสงบแน่นิ่งอยู่ในหยดน้ำค้างบนใบหญ้าเพียงหยดเดียว
    โดเง็น
    ...........................................................................
    [​IMG]

    <!--/* Font Definitions */@font-face{font-family:&quot;Cordia New&quot;;panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}@font-face{font-family:&quot;Cambria Math&quot;;panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:roman;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Calibri;panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Tahoma;panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;}/* Style Definitions */p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal{mso-style-unhide:no;mso-style-qformat:yes;mso-style-parent:&quot;&quot;;margin-top:0cm;margin-right:0cm;margin-bottom:10.0pt;margin-left:0cm;line-height:115%;mso-pagination:widow-orphan;font-size:11.0pt;mso-bidi-font-size:14.0pt;font-family:&quot;Calibri&quot;,&quot;sans-serif&quot;;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoChpDefault{mso-style-type:export-only;mso-default-props:yes;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoPapDefault{mso-style-type:export-only;margin-bottom:10.0pt;line-height:115%;}@page Section1{size:612.0pt 792.0pt;margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;mso-header-margin:36.0pt;mso-footer-margin:36.0pt;mso-paper-source:0;}div.Section1{page:Section1;}-->
    <!--/* Font Definitions */@font-face{font-family:&quot;Cordia New&quot;;panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}@font-face{font-family:&quot;Cambria Math&quot;;panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:roman;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Calibri;panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Tahoma;panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;}/* Style Definitions */p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal{mso-style-unhide:no;mso-style-qformat:yes;mso-style-parent:&quot;&quot;;margin-top:0cm;margin-right:0cm;margin-bottom:10.0pt;margin-left:0cm;line-height:115%;mso-pagination:widow-orphan;font-size:11.0pt;mso-bidi-font-size:14.0pt;font-family:&quot;Calibri&quot;,&quot;sans-serif&quot;;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoChpDefault{mso-style-type:export-only;mso-default-props:yes;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoPapDefault{mso-style-type:export-only;margin-bottom:10.0pt;line-height:115%;}@page Section1{size:612.0pt 792.0pt;margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;mso-header-margin:36.0pt;mso-footer-margin:36.0pt;mso-paper-source:0;}div.Section1{page:Section1;}-->
    เวลา ใบไม้

    ปลิดขั้วปลิวพริ้วร่วง ละลิ่วล่วงแสนห่วงหา
    ใบไม้ วัยชรา เวลาหั่นดั่งกรรไกร
    เคยเอนพริ้วเล่นลม เริงรื่นรมย์กับลมไหว

    ปลิด ปลิวพริ้วร่วงไป ลงอิงแอบแนบกับดิน
    ถึงวันผันผลัดใบ เก่าเป็นใหม่ให้ยลยิน
    เวลาฆ่ากลืนกิน มาตัดสินโชคชะตา
    หงอย เหงาแห้งเฉาตาย เสื่อมสลายคลายมายา
    ล่วงลับดับโรยรา หมดเวลาหน้าที่ลง
    ปลิดปลิวพริ้วช้าช้า ด้วยเวลามาปลดปลง
    ไม่ ขืนฝืนดำรง เพียงอยากชมลมก่อนลา
    ร่วงหล่นบนผืนดิน เปื่อยพังภินท์สิ้นมิช้า
    ย่อยยับกับเวลา คืนสู่ถิ่นเป็นดินไป



    ...........................................................................
    [​IMG]
    <!--/* Font Definitions */@font-face{font-family:&quot;Cordia New&quot;;panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}@font-face{font-family:&quot;Cambria Math&quot;;panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:roman;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Calibri;panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Tahoma;panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;}/* Style Definitions */p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal{mso-style-unhide:no;mso-style-qformat:yes;mso-style-parent:&quot;&quot;;margin-top:0cm;margin-right:0cm;margin-bottom:10.0pt;margin-left:0cm;line-height:115%;mso-pagination:widow-orphan;font-size:11.0pt;mso-bidi-font-size:14.0pt;font-family:&quot;Calibri&quot;,&quot;sans-serif&quot;;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoChpDefault{mso-style-type:export-only;mso-default-props:yes;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoPapDefault{mso-style-type:export-only;margin-bottom:10.0pt;line-height:115%;}@page Section1{size:612.0pt 792.0pt;margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;mso-header-margin:36.0pt;mso-footer-margin:36.0pt;mso-paper-source:0;}div.Section1{page:Section1;}-->​
    ชีวิตเปรียบเหมือนหยาดน้ำค้าง
    ที่ วันหนึ่งต้องถึงคราวเหือดแห้ง
    วันคืนผ่านไปไม่หวนกลับ
    เช่น ชีวิตและร่างกายของฉัน
    ที่ค่อยๆทรุด โทรมผุพัง
    รอ เวลาเปื่อยเป็นธุลีดิน


    ...........................................................................

    [​IMG]

    <!--/* Font Definitions */@font-face{font-family:&quot;Cordia New&quot;;panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}@font-face{font-family:&quot;Cambria Math&quot;;panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:roman;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Calibri;panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Tahoma;panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;}/* Style Definitions */p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal{mso-style-unhide:no;mso-style-qformat:yes;mso-style-parent:&quot;&quot;;margin-top:0cm;margin-right:0cm;margin-bottom:10.0pt;margin-left:0cm;line-height:115%;mso-pagination:widow-orphan;font-size:11.0pt;mso-bidi-font-size:14.0pt;font-family:&quot;Calibri&quot;,&quot;sans-serif&quot;;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoChpDefault{mso-style-type:export-only;mso-default-props:yes;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoPapDefault{mso-style-type:export-only;margin-bottom:10.0pt;line-height:115%;}@page Section1{size:612.0pt 792.0pt;margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;mso-header-margin:36.0pt;mso-footer-margin:36.0pt;mso-paper-source:0;}div.Section1{page:Section1;}-->
    <!--/* Font Definitions */@font-face{font-family:&quot;Cordia New&quot;;panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}@font-face{font-family:&quot;Cambria Math&quot;;panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:roman;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Calibri;panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Tahoma;panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;}/* Style Definitions */p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal{mso-style-unhide:no;mso-style-qformat:yes;mso-style-parent:&quot;&quot;;margin-top:0cm;margin-right:0cm;margin-bottom:10.0pt;margin-left:0cm;line-height:115%;mso-pagination:widow-orphan;font-size:11.0pt;mso-bidi-font-size:14.0pt;font-family:&quot;Calibri&quot;,&quot;sans-serif&quot;;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoChpDefault{mso-style-type:export-only;mso-default-props:yes;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoPapDefault{mso-style-type:export-only;margin-bottom:10.0pt;line-height:115%;}@page Section1{size:612.0pt 792.0pt;margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;mso-header-margin:36.0pt;mso-footer-margin:36.0pt;mso-paper-source:0;}div.Section1{page:Section1;}-->
    "คน ไม่สนใจธรรม ธรรมก็ไม่เข้าถึงใจคน จึงกลายเป็นคนก็สักว่าคน

    ธรรมก็สักว่าธรรม ไม่อาจยังประโยชน์ให้สำเร็จได้ แม้คนจะมีจำนวนมาก

    และแสดงธรรมให้ฟัง ทั้งพระไตรปิฏก จึงเป็นเหมือนเทน้ำใส่หลังหมา

    มันสลัดออกเกลี้ยงไม่ มีเหลือ ธรรมจึงไม่มีความหมายในใจของคน

    เหมือนน้ำไม่มีความหมายบน หลังหมา ฉันนั้น"
    หลวงปู่มั่น ภูริทัตโต
    ...........................................................................
    [​IMG]
    <!--/* Font Definitions */@font-face{font-family:&quot;Cordia New&quot;;panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}@font-face{font-family:&quot;Cambria Math&quot;;panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:roman;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Calibri;panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Tahoma;panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;}/* Style Definitions */p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal{mso-style-unhide:no;mso-style-qformat:yes;mso-style-parent:&quot;&quot;;margin-top:0cm;margin-right:0cm;margin-bottom:10.0pt;margin-left:0cm;line-height:115%;mso-pagination:widow-orphan;font-size:11.0pt;mso-bidi-font-size:14.0pt;font-family:&quot;Calibri&quot;,&quot;sans-serif&quot;;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoChpDefault{mso-style-type:export-only;mso-default-props:yes;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoPapDefault{mso-style-type:export-only;margin-bottom:10.0pt;line-height:115%;}@page Section1{size:612.0pt 792.0pt;margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;mso-header-margin:36.0pt;mso-footer-margin:36.0pt;mso-paper-source:0;}div.Section1{page:Section1;}-->
    ถ้ามี อสรพิษทั้ง 3 อยู่ในจิตของท่าน ท่านก็ตกอยู่ใน
    ดินแดนแห่ง ความสกปรกเมื่ออสรพิษทั้งสาม ( ความโลภ โกรธ หลง )
    ออกไปจากจิตของท่าน ท่านก็อยู่ในดินแดนแห่งความบริสุทธิ์ สะอาด

    พระสูตรกล่าวว่า “ ถ้าท่านอยู่ในดินแดนที่มีแต่ความ สกปรก พุทธ

    ภาวะ ก็ไม่ปรากฏ ,ความเศร้าหมองและความสกปรก หมายถึง ความ
    หลงและ กิเลส อันเป็นอสรพิษร้าย ,พุทธะ หมายถึง จิตที่สะอาด สว่าง สงบ ”
    โพธิธรรมคำ สอน (ปรมาจารย์ตั๊ก ม้อ)

    ...........................................................................
    [​IMG]
    <!--/* Font Definitions */@font-face{font-family:&quot;Cordia New&quot;;panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}@font-face{font-family:&quot;Cambria Math&quot;;panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:roman;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Calibri;panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Tahoma;panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;}/* Style Definitions */p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal{mso-style-unhide:no;mso-style-qformat:yes;mso-style-parent:&quot;&quot;;margin-top:0cm;margin-right:0cm;margin-bottom:10.0pt;margin-left:0cm;line-height:115%;mso-pagination:widow-orphan;font-size:11.0pt;mso-bidi-font-size:14.0pt;font-family:&quot;Calibri&quot;,&quot;sans-serif&quot;;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoChpDefault{mso-style-type:export-only;mso-default-props:yes;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoPapDefault{mso-style-type:export-only;margin-bottom:10.0pt;line-height:115%;}@page Section1{size:612.0pt 792.0pt;margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;mso-header-margin:36.0pt;mso-footer-margin:36.0pt;mso-paper-source:0;}div.Section1{page:Section1;}--><!--/* Font Definitions */@font-face{font-family:&quot;Cordia New&quot;;panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}@font-face{font-family:&quot;Cambria Math&quot;;panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:roman;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Calibri;panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Tahoma;panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;}/* Style Definitions */p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal{mso-style-unhide:no;mso-style-qformat:yes;mso-style-parent:&quot;&quot;;margin-top:0cm;margin-right:0cm;margin-bottom:10.0pt;margin-left:0cm;line-height:115%;mso-pagination:widow-orphan;font-size:11.0pt;mso-bidi-font-size:14.0pt;font-family:&quot;Calibri&quot;,&quot;sans-serif&quot;;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoChpDefault{mso-style-type:export-only;mso-default-props:yes;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoPapDefault{mso-style-type:export-only;margin-bottom:10.0pt;line-height:115%;}@page Section1{size:612.0pt 792.0pt;margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;mso-header-margin:36.0pt;mso-footer-margin:36.0pt;mso-paper-source:0;}div.Section1{page:Section1;}-->
    <!--/* Font Definitions */@font-face{font-family:&quot;Cordia New&quot;;panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}@font-face{font-family:&quot;Cambria Math&quot;;panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:roman;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Calibri;panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Tahoma;panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;}/* Style Definitions */p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal{mso-style-unhide:no;mso-style-qformat:yes;mso-style-parent:&quot;&quot;;margin-top:0cm;margin-right:0cm;margin-bottom:10.0pt;margin-left:0cm;line-height:115%;mso-pagination:widow-orphan;font-size:11.0pt;mso-bidi-font-size:14.0pt;font-family:&quot;Calibri&quot;,&quot;sans-serif&quot;;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoChpDefault{mso-style-type:export-only;mso-default-props:yes;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoPapDefault{mso-style-type:export-only;margin-bottom:10.0pt;line-height:115%;}@page Section1{size:612.0pt 792.0pt;margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;mso-header-margin:36.0pt;mso-footer-margin:36.0pt;mso-paper-source:0;}div.Section1{page:Section1;}-->
    ถ้าเราทำงาน จนเมื่อยมือเหลือเกิน ก็จงดีใจเถอะ ที่มีมือให้เมื่อย
    ถ้าเราเดินไปเดินมาจนปวดขาเหลือเกิน ก็จงดีใจเถอะ ที่มีขาให้ปวด
    ถ้าเราเห็นหัวหน้า แล้วเซ็งเหลือเกิน ก็จงดีใจเถอะ ที่มีหัวหน้าให้เซ็ง
    ถ้าเราเห็น งาน แล้วเราเบื่องานเหลือเกิน ก็จงดีใจเถอะ ที่มีงานให้เบื่อ

    พระมหาสมปอง

    ...........................................................................
    [​IMG]
    <!--/* Font Definitions */@font-face{font-family:&quot;Cordia New&quot;;panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}@font-face{font-family:&quot;Cambria Math&quot;;panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:roman;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Calibri;panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Tahoma;panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;}/* Style Definitions */p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal{mso-style-unhide:no;mso-style-qformat:yes;mso-style-parent:&quot;&quot;;margin-top:0cm;margin-right:0cm;margin-bottom:10.0pt;margin-left:0cm;line-height:115%;mso-pagination:widow-orphan;font-size:11.0pt;mso-bidi-font-size:14.0pt;font-family:&quot;Calibri&quot;,&quot;sans-serif&quot;;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoChpDefault{mso-style-type:export-only;mso-default-props:yes;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoPapDefault{mso-style-type:export-only;margin-bottom:10.0pt;line-height:115%;}@page Section1{size:612.0pt 792.0pt;margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;mso-header-margin:36.0pt;mso-footer-margin:36.0pt;mso-paper-source:0;}div.Section1{page:Section1;}--><!--/* Font Definitions */@font-face{font-family:&quot;Cordia New&quot;;panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}@font-face{font-family:&quot;Cambria Math&quot;;panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:roman;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Calibri;panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Tahoma;panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;}/* Style Definitions */p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal{mso-style-unhide:no;mso-style-qformat:yes;mso-style-parent:&quot;&quot;;margin-top:0cm;margin-right:0cm;margin-bottom:10.0pt;margin-left:0cm;line-height:115%;mso-pagination:widow-orphan;font-size:11.0pt;mso-bidi-font-size:14.0pt;font-family:&quot;Calibri&quot;,&quot;sans-serif&quot;;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoChpDefault{mso-style-type:export-only;mso-default-props:yes;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoPapDefault{mso-style-type:export-only;margin-bottom:10.0pt;line-height:115%;}@page Section1{size:612.0pt 792.0pt;margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;mso-header-margin:36.0pt;mso-footer-margin:36.0pt;mso-paper-source:0;}div.Section1{page:Section1;}-->
    สรรพสิ่งในโลกนี้ ล้วนเป็นไปตามเหตุปัจจัย ไม่ได้เป็นไป
    ตามที่บนบานศาลกล่าว หากโลกนี้ มีสิ่งศักดิ์สิทธิ์ที่ช่วยให้
    คนสมปรารถนา ถ้าเป็นเช่นนั้นจริง โลกนี้จะเหลือใครบ้างที่เป็นคนผิดหวัง
    ว.วชิรเมธี

    ...........................................................................


    [​IMG]
    <!--/* Font Definitions */@font-face{font-family:&quot;Cordia New&quot;;panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}@font-face{font-family:&quot;Cambria Math&quot;;panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:roman;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Calibri;panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Tahoma;panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;}/* Style Definitions */p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal{mso-style-unhide:no;mso-style-qformat:yes;mso-style-parent:&quot;&quot;;margin-top:0cm;margin-right:0cm;margin-bottom:10.0pt;margin-left:0cm;line-height:115%;mso-pagination:widow-orphan;font-size:11.0pt;mso-bidi-font-size:14.0pt;font-family:&quot;Calibri&quot;,&quot;sans-serif&quot;;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoChpDefault{mso-style-type:export-only;mso-default-props:yes;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoPapDefault{mso-style-type:export-only;margin-bottom:10.0pt;line-height:115%;}@page Section1{size:612.0pt 792.0pt;margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;mso-header-margin:36.0pt;mso-footer-margin:36.0pt;mso-paper-source:0;}div.Section1{page:Section1;}-->
    ทุกวันนี้ เกิดความทุกข์ ความเดือดร้อน
    ก็เพราะ มนุษย์ไปยึดโน่น ยึดนี่
    ยึดพวกยึด พ้อง ยึดหมู่ยึดคณะ ยึดประเทศเป็นสรณะ
    โดยไม่คำนึง ถึงธรรม สากลจักรวาลโลกมนุษย์นี้
    ทุกคนมีกรรม จึงเกิดมาเป็นสัตว์โลก
    สัตว์โลกทุน คนต้องใช้กรรมตามวาระ ตามกรรม
    ถ้าทุกคนยึด ถือเป็นอารมณ์
    ก็จะเกิดการ เข่นฆ่ากัน เกิดการฆ่าฟันกัน
    เพราะอารมณ์ แห่งการยึดถืออายตนะ ฉะนั้น
    ต้องพิจารณา ให้ถ่องแท้ว่า สิ่งใดทำแล้ว
    สัตว์โลกมี ความสุข สิ่งนั้นควรทำ
    นี่คือ หลักความจริงของธรรมะ
    หลวง ปู่ทวด (เหยียบทะเลน้ำจืด)

    ...........................................................................
    [​IMG]

    <!--/* Font Definitions */@font-face{font-family:&quot;Cordia New&quot;;panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}@font-face{font-family:&quot;Cambria Math&quot;;panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:roman;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Calibri;panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Tahoma;panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;}/* Style Definitions */p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal{mso-style-unhide:no;mso-style-qformat:yes;mso-style-parent:&quot;&quot;;margin-top:0cm;margin-right:0cm;margin-bottom:10.0pt;margin-left:0cm;line-height:115%;mso-pagination:widow-orphan;font-size:11.0pt;mso-bidi-font-size:14.0pt;font-family:&quot;Calibri&quot;,&quot;sans-serif&quot;;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoChpDefault{mso-style-type:export-only;mso-default-props:yes;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoPapDefault{mso-style-type:export-only;margin-bottom:10.0pt;line-height:115%;}@page Section1{size:612.0pt 792.0pt;margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;mso-header-margin:36.0pt;mso-footer-margin:36.0pt;mso-paper-source:0;}div.Section1{page:Section1;}--><!--/* Font Definitions */@font-face{font-family:&quot;Cordia New&quot;;panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}@font-face{font-family:&quot;Cambria Math&quot;;panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:roman;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Calibri;panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Tahoma;panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;}/* Style Definitions */p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal{mso-style-unhide:no;mso-style-qformat:yes;mso-style-parent:&quot;&quot;;margin-top:0cm;margin-right:0cm;margin-bottom:10.0pt;margin-left:0cm;line-height:115%;mso-pagination:widow-orphan;font-size:11.0pt;mso-bidi-font-size:14.0pt;font-family:&quot;Calibri&quot;,&quot;sans-serif&quot;;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoChpDefault{mso-style-type:export-only;mso-default-props:yes;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoPapDefault{mso-style-type:export-only;margin-bottom:10.0pt;line-height:115%;}@page Section1{size:612.0pt 792.0pt;margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;mso-header-margin:36.0pt;mso-footer-margin:36.0pt;mso-paper-source:0;}div.Section1{page:Section1;}-->
    <!--/* Font Definitions */@font-face{font-family:&quot;Cordia New&quot;;panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}@font-face{font-family:&quot;Cambria Math&quot;;panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:roman;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Calibri;panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Tahoma;panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;}/* Style Definitions */p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal{mso-style-unhide:no;mso-style-qformat:yes;mso-style-parent:&quot;&quot;;margin-top:0cm;margin-right:0cm;margin-bottom:10.0pt;margin-left:0cm;line-height:115%;mso-pagination:widow-orphan;font-size:11.0pt;mso-bidi-font-size:14.0pt;font-family:&quot;Calibri&quot;,&quot;sans-serif&quot;;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoChpDefault{mso-style-type:export-only;mso-default-props:yes;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoPapDefault{mso-style-type:export-only;margin-bottom:10.0pt;line-height:115%;}@page Section1{size:612.0pt 792.0pt;margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;mso-header-margin:36.0pt;mso-footer-margin:36.0pt;mso-paper-source:0;}div.Section1{page:Section1;}-->
    คนเราเกิดมา ไม่เห็นมี อะไรดี มีดีอยู่อย่างเดียว คือ สวดมนต์ไหว้
    พระปฏิบัติ ภาวนาคือ มองทุกสิ่งทุกอย่างในโลกเป็นของชั่วคราว
    มีแต่ปัญหามีแต่ทุกข์ แล้วก็เสื่อม พังสลายไปในที่สุด
    ดู ก่อนท่านผู้เห็นภัยในวัฏฏสงสาร(การ เวียนว่ายตายเกิด) ทั้งหลาย
    ถ้าท่านต้องการพ้นภัยจากการเกิดแก่เจ็บตาย ท่านควรมี
    คุณธรรม 6 ประการนี้ไว้เป็นประจำจิตประจำใจ ทุกท่านย่อม
    จะได้ บรรลุมรรคผลนิพพาน ถึงความสุขใจอย่างยอดเยี่ยม
    1. ข่มจิตในเวลาที่ควรข่ม
    2. ประคับประคองจิตในยามที่ควรประคับประคอง
    3. ทำจิตให้ร่าเริงในยามที่ควรร่าเริง
    4. ทำจิตวางเฉยในยามที่ควรวางเฉย
    5. มีจิตน้อมไปในอริยมรรค อริยผลอันประณีตสูงสุด
    6. มีจิตตั้งมั่นในพระนิพพานเป็นจุดหมายปลายทางของชีวิตผู้ปฏิบัติที่มีความ สามารถฉลาด

    หลวงปู่ดู่
    ...........................................................................
    [​IMG]

    <!--/* Font Definitions */@font-face{font-family:&quot;Cordia New&quot;;panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}@font-face{font-family:&quot;Cambria Math&quot;;panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:roman;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Calibri;panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Tahoma;panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;}/* Style Definitions */p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal{mso-style-unhide:no;mso-style-qformat:yes;mso-style-parent:&quot;&quot;;margin-top:0cm;margin-right:0cm;margin-bottom:10.0pt;margin-left:0cm;line-height:115%;mso-pagination:widow-orphan;font-size:11.0pt;mso-bidi-font-size:14.0pt;font-family:&quot;Calibri&quot;,&quot;sans-serif&quot;;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoChpDefault{mso-style-type:export-only;mso-default-props:yes;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoPapDefault{mso-style-type:export-only;margin-bottom:10.0pt;line-height:115%;}@page Section1{size:612.0pt 792.0pt;margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;mso-header-margin:36.0pt;mso-footer-margin:36.0pt;mso-paper-source:0;}div.Section1{page:Section1;}-->
    <!--/* Font Definitions */@font-face{font-family:&quot;Cordia New&quot;;panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}@font-face{font-family:&quot;Cambria Math&quot;;panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:roman;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Calibri;panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Tahoma;panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;}/* Style Definitions */p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal{mso-style-unhide:no;mso-style-qformat:yes;mso-style-parent:&quot;&quot;;margin-top:0cm;margin-right:0cm;margin-bottom:10.0pt;margin-left:0cm;line-height:115%;mso-pagination:widow-orphan;font-size:11.0pt;mso-bidi-font-size:14.0pt;font-family:&quot;Calibri&quot;,&quot;sans-serif&quot;;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoChpDefault{mso-style-type:export-only;mso-default-props:yes;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoPapDefault{mso-style-type:export-only;margin-bottom:10.0pt;line-height:115%;}@page Section1{size:612.0pt 792.0pt;margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;mso-header-margin:36.0pt;mso-footer-margin:36.0pt;mso-paper-source:0;}div.Section1{page:Section1;}-->
    จิต ล้วนๆ นี้ ซึ่งเป็นที่กำเนิดของสิ่งทุกสิ่ง ย่อมส่องแสงอยู่ตลอดกาล
    และส่องความ สว่างจ้าแห่งความสมบูรณ์ของมันเองลงบน สิ่งทั้งปวง
    แต่ชาวโลก ไม่ประสีประสาลืมตาต่อมัน ไปมัวเข้าใจ
    เอาแต่สิ่ง ซึ่งทำหน้าที่ดู ทำหน้าที่ฟัง
    ทำหน้าที่ รู้สึก และทำหน้าที่คิด ว่านั่นแหละคือ จิต
    เขาเหล่า นั้นถูกการดู การฟัง การรู้สึก
    และ การนึกคิดของเขาเอง ทำเขาให้ตาบอด เขาไม่รู้สึกต่อแสง
    <!--/* Font Definitions */@font-face{font-family:&quot;Cordia New&quot;;panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}@font-face{font-family:&quot;Cambria Math&quot;;panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:roman;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Calibri;panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Tahoma;panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;}/* Style Definitions */p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal{mso-style-unhide:no;mso-style-qformat:yes;mso-style-parent:&quot;&quot;;margin-top:0cm;margin-right:0cm;margin-bottom:10.0pt;margin-left:0cm;line-height:115%;mso-pagination:widow-orphan;font-size:11.0pt;mso-bidi-font-size:14.0pt;font-family:&quot;Calibri&quot;,&quot;sans-serif&quot;;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoChpDefault{mso-style-type:export-only;mso-default-props:yes;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoPapDefault{mso-style-type:export-only;margin-bottom:10.0pt;line-height:115%;}@page Section1{size:612.0pt 792.0pt;margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;mso-header-margin:36.0pt;mso-footer-margin:36.0pt;mso-paper-source:0;}div.Section1{page:Section1;}-->
    อันสว่างจ้า ของสิ่งซึ่งเป็นต้นกำเนิดทางฝ่ายจิต

    ฮวงโป
    ...........................................................................
    [​IMG]
    <!--/* Font Definitions */@font-face{font-family:&quot;Cordia New&quot;;panose-1:2 11 3 4 2 2 2 2 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:16777219 0 0 0 65537 0;}@font-face{font-family:&quot;Cambria Math&quot;;panose-1:2 4 5 3 5 4 6 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:roman;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1107304683 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Calibri;panose-1:2 15 5 2 2 2 4 3 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:-1610611985 1073750139 0 0 159 0;}@font-face{font-family:Tahoma;panose-1:2 11 6 4 3 5 4 4 2 4;mso-font-charset:0;mso-generic-font-family:swiss;mso-font-pitch:variable;mso-font-signature:1627400839 -2147483648 8 0 66047 0;}/* Style Definitions */p.MsoNormal, li.MsoNormal, div.MsoNormal{mso-style-unhide:no;mso-style-qformat:yes;mso-style-parent:&quot;&quot;;margin-top:0cm;margin-right:0cm;margin-bottom:10.0pt;margin-left:0cm;line-height:115%;mso-pagination:widow-orphan;font-size:11.0pt;mso-bidi-font-size:14.0pt;font-family:&quot;Calibri&quot;,&quot;sans-serif&quot;;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoChpDefault{mso-style-type:export-only;mso-default-props:yes;mso-ascii-font-family:Calibri;mso-ascii-theme-font:minor-latin;mso-fareast-font-family:Calibri;mso-fareast-theme-font:minor-latin;mso-hansi-font-family:Calibri;mso-hansi-theme-font:minor-latin;mso-bidi-font-family:&quot;Cordia New&quot;;mso-bidi-theme-font:minor-bidi;}.MsoPapDefault{mso-style-type:export-only;margin-bottom:10.0pt;line-height:115%;}@page Section1{size:612.0pt 792.0pt;margin:72.0pt 72.0pt 72.0pt 72.0pt;mso-header-margin:36.0pt;mso-footer-margin:36.0pt;mso-paper-source:0;}div.Section1{page:Section1;}-->
    กามตัณหา เปรียบ เหมือนแม่น้ำไหลไปสู่ทะเล ไม่ รู้จักเต็มสักที
    อันนี้ฉันใด ความ อยากของตัณหามันไม่พอ ต้องทำความพอจึงจะดี
    เราจะต้องทำใจให้ผ่องใส ตั้งอยู่ ในศีล ตั้งอยู่ในทาน ตั้ง อยู่ในธรรม
    ตั้งอยู่ในสมาธิก็ดี ทุกอย่าง เราทำความพอดี ความพอใจก็นำออกเสีย
    ความ ไม่พอใจก็นำออกเสีย เวลานี้เราจะพักจิต ทำกายของเรา
    ทำใจ ของเราให้รู้แจ้งในกายในใจของเรานี้ รู้ความเป็นมา วางให้หมด
    วาง อารมณ์ วางอดีตอนาคตทั้งปวง ที่ใจนี่แหละ
    หลวงปู่แหวน สุจิณโณ

    ...........................................................................
     
  3. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,907
    ค่าพลัง:
    +16,490
    คำถามที่น่ากลัวที่สุดในชีวิต

    บางคนรู้สึกว่าความตายเป็นสิ่งที่น่ากลัวที่สุดในชีวิต
    บางคนเจาะจงลงไปกว่านั้น คือรู้สึกว่าความเจ็บปวดขณะกำลังจะตายน่ากลัวที่สุด
    แต่บางคนฟังเรื่องเกี่ยวกับนรก ก็รู้สึกว่าไม่มีสิ่งใดในสากลจักรวาลน่าสะพรึงกลัวยิ่งไปกว่านรกอีกแล้ว
    แต่ความจริงก็คือยังมีสิ่งที่น่ากลัวกว่านั้น!


    ความมืดอันใดน่ากลัวที่สุด?

    ครั้งหนึ่งพระพุทธองค์ตรัสกะพระสาวกของพระองค์ว่า ดูกรภิกษุทั้งหลาย โลกันตนรกมีแต่ความทุกข์ มืดคลุ้มเป็นหมอกมัว สัตว์ในโลกันตนรกนั้นไม่ได้รับรัศมีพระจันทร์และพระอาทิตย์ซึ่งมีฤทธิ์มีอานุภาพมากถึงขนาดนี้
    เมื่อพระองค์ท่านตรัสแล้วก็ทรงเงียบอยู่ กระทั่งมีภิกษุรูปหนึ่งทูลถามพระผู้มีพระภาคว่า ข้าแต่
    พระองค์ผู้เจริญ ฟังแล้วโลกันตนรกช่างมืดมากเหลือเกิน แต่จะยังมีความมืดอย่างอื่นที่ยิ่งไปกว่านั้น น่าสะพรึงกลัวยิ่งไปกว่าความมืดแห่งโลกันตนรกหรือไม่พระเจ้าข้า?
    พระพุทธองค์ตรัสตอบว่า ดูกรภิกษุ ความมืดอย่างอื่นที่มากกว่าและน่ากลัวกว่าความมืดแห่ง
    โลกันตนรกนั้นมีอยู่ แล้วท่านก็สาธยายมีใจความโดยสรุปคือ ความไม่รู้ตามจริงนั่นเองที่มืดยิ่งกว่า

    โลกันตนรก
    พวกเราไม่รู้อะไรตามจริงบ้าง? คือ…
    ๑) ไม่รู้ว่ากายใจอันเป็นที่ตั้งของอุปาทานทั้งปวงนี้ เป็นทุกข์ (นึกว่าเป็นสุข เป็นของดีที่น่ามีน่าเป็น)
    ๒) ไม่รู้ว่าความอาลัยยึดติดในกายใจนี้ เป็นเหตุแห่งทุกข์ (นึกว่าจำเป็นต้องหลงอยู่เช่นนี้อย่าง
    ไม่มีทางเลือก)
    ๓) ไม่รู้ว่าความพ้นขาดจากการหลงยึดผิดๆ เป็นความดับทุกข์ (นึกว่าการดับทุกข์เด็ดขาดถาวรชนิดไม่กลับกำเริบใหม่เป็นไปไม่ได้)
    ๔) ไม่รู้ว่าการตั้งมุมมองไว้ตรงตามจริง แล้วเพียรตั้งสติดูอยู่จนจิตตั้งมั่นรู้แจ้ง เป็นวิธีดับทุกข์ (นึกว่าคลายความกระวนกระวายได้เพียงด้วยการเสพกาม หรืออย่างดีที่สุดคือการเข้าฌานไปเป็นพรหมเพื่อมีชีวิตอมตะชั่วนิรันดร์)
    แค่ความไม่รู้ว่าอะไรเป็นทุกข์ อะไรเป็นทางดับทุกข์เท่านี้ เหตุใดจึงได้ชื่อว่าเป็นความมืดที่น่ากลัวเสียยิ่งกว่าโลกันตนรก? ขอให้พิจารณาว่าความมืดของ

    โลกันตนรกนั้น ยังมีวันสว่าง ยังมีทางเปิดให้สัตว์ไปอุบัติในภพอื่นหลังจากใช้กรรมหมดสิ้นแล้ว แต่ความไม่รู้ว่าอะไรเป็นเหตุแห่งทุกข์ ไม่รู้ว่าอะไรเป็นบุญเป็นบาปนั้น ส่งสัตว์ให้ตกต่ำลงไปยิ่งกว่า

    โลกันตนรก เช่นถ้าพลาดทำอนันตริยกรรมก็มีหวังถึงอเวจีมหานรกได้
    โลกันตนรกเป็นแค่ภพแห่งความทุกข์ภพหนึ่ง แต่ความไม่รู้ หรือความมีอวิชชานั่นแหละ นำไปสู่ภพแห่งความทุกข์ต่างๆ ทั้งที่มืดมนกว่าโลกันตนรก และทั้งที่แผดเผาเท่าอเวจีมหานรก และสำคัญกว่าอะไรคือโลกันตนรกนั้นวันหนึ่งจะสิ้นสุดสภาพเองเมื่อแรงส่งของวิบากกรรมหมดลง แต่อวิชชาจะไม่มีวันสิ้นสุดสภาพด้วยตนเองเลย หากปราศจากเหตุคือปัญญารู้ทางดับทุกข์
    เรากำลังเป็นหนึ่งในผู้ติดกับดักแห่งความมืดอยู่หรือไม่?
    กับดักมีอยู่มากมายหลายชนิด แต่ไม่มีกับดักใดน่าพรั่นพรึงยิ่งไปกว่ากับดักที่เหนี่ยวเราไว้ให้ติดอยู่กับความเสี่ยงต่อนรกอย่างไร้วันจบ วันสิ้น ระหว่างการเดินทางไกลอันไม่เป็นที่รู้ เรามีโอกาสพลาดได้ทุกขณะ ขอเพียงคบคนพาลเป็นมิตร หรือเพียงมีคนคิดชั่วอยู่ในเรือน
    กับดักอันนำไปสู่ภพที่มืดอย่างยืดเยื้อไร้วันจบสิ้นก็คือความไม่รู้ตามจริง
    พอไม่รู้ก็เข้าข้างตัวเองว่านี่ของเรา นั่นของเรา นั่นเนื่องด้วยเรา
    พอไม่รู้ก็เข้าข้างกิเลสว่าเราควรได้สิ่งนี้ เราไม่ควรได้สิ่งนั้น
    พอไม่รู้ก็สำคัญมั่นหมายว่ามีเราเป็นอมตะ น่าจะเคยเกิดในภพดีๆ และจะไปเกิดในภพสูงๆ
    ลองถามตัวเองว่ารู้สึกถึงความมีอัตตาอยู่ไหม? ถ้าต้องตอบตามจริงว่ามี ลองถามตัวเองอีกว่าอัตตานี้จะมีอยู่ตลอดไปไหม? ถ้าต้องตอบตามจริงคือรู้สึกว่ามันจะคงอยู่ตลอดไป ขอให้บอกตัวเองเถิดว่าเราติดกับแล้ว เป็นผู้หนึ่งที่ต้องเวียนว่ายตายเกิดเสี่ยงผิดเสี่ยงถูกอยู่ใน สังสารวัฏนี้แล้ว!
    สิ่งใดที่ไม่เที่ยง เรากลับรู้สึกว่ามันเที่ยง ย่อมชื่อว่าเรากำลังอุปาทานไป
    สิ่งใดเป็นทุกข์ แต่เรากลับรู้สึกว่ามันเป็นสุข ก็ย่อมชื่อว่าเรากำลังอุปาทานไป
    สิ่งใดไม่เที่ยง เป็นทุกข์ มีอันต้องดับไปเป็นธรรมดา ย่อมไม่ใช่ตัวตน ย่อมไม่อยู่ในครอบครองของใคร แต่เรากลับรู้สึกว่าเป็นอัตตา เป็นตัวเราที่ไม่ควรตาย เช่นนี้ก็ย่อมชื่อว่าเรากำลังอุปาทานไป
    อุปาทานเป็นชื่อของความหลงผิด เป็นชื่อของความมืดบอดทางใจ ที่น่าสลดใจคือไม่มีใครรู้เลยว่าขอเพียงฝึกที่จะรู้ตามจริงเป็นขั้นๆ พวกเราไม่ต้องมีอุปาทานก็ได้ แต่เมื่อไม่ฝึกรู้ตามจริง ก็ต้องหลงวนอยู่ในโลกของอุปาทานกันต่อไปอย่างไร้ที่จบสิ้น


    เรามีความละอายในการกระทำอันเป็นบาปบ้างหรือไม่?

    พระพุทธเจ้าตรัสว่า ถ้าใครสามารถกล่าวมุสาได้โดยปราศจากความละอาย ทั้งที่รู้อยู่แก่ใจว่าไม่ ใช่เรื่องจริง ก็ไม่มีบาปกรรมใดแม้แต่หนึ่งเดียวที่เขาจะทำไม่ลง
    ความละอายจึงเป็นตัวแปรสำคัญที่สุด เป็นองค์ประกอบสำคัญสูงสุดในการถือกำเนิดเกิดเป็นมนุษย์ ตราบใดยังมีความละอาย ไม่อยากทำบาป ไม่นึกสนุกติดใจในกรรมชั่ว ก็เรียกว่าเขายังพอมีพื้นของความเป็นมนุษย์อยู่ แต่หากทำบาปได้แบบไม่ต้องกะพริบตา เช่นพูดโกหกมดเท็จปั้นน้ำเป็นตัวได้คล่องแคล่วเป็นธรรมชาติ นั่นแหละคือเขาขาดองค์ประกอบพื้นฐานของความเป็นมนุษย์ไปแล้ว
    คนส่วนใหญ่มองว่าการโกหกเป็นเรื่องเล็กน้อย เพราะเป็นเรื่องสามัญที่ทุกคนต้องทำ อาจจะโกหกนิดๆ หรืออาจจะโกหกมากๆ ขึ้นอยู่กับสถานการณ์บีบคั้น ไม่ตระหนักกันเลยว่าถ้าทำเป็นประจำจนชิน ในที่สุดก็จะหมดความละอาย และเมื่อใดหมดความละอายในการโป้ปดมดเท็จ เมื่อนั้นจิตวิญญาณจะด้านชาต่อบาป เหมือนมีอะไรมาบังตาไม่ให้เห็นตามจริงไปเสียหมด ที่ตามมาก็คือการทำบาปได้ไม่เลือก เพราะตัวมุสามันบอกตัวเองว่าไม่เป็นไร ขอให้เอาดีเข้าตัวได้เป็นพอ


    ใจจริงของเราอยู่ตรงไหน?

    บางคนหาตัวเองยังไม่เจอ ก็เท่ากับยังไม่เจอใจจริง เพราะใจที่ยังไม่รู้จักตัวเองอย่างถ่องแท้อาจแกว่งไปทางไหนก็ได้ เปลี่ยนทิศทางเป็นตรงข้ามกับเมื่อวานก็ยังได้และบางทีเราก็ต้องทรมานกับความคิดที่ขัดแย้งกับ ใจตัวเอง เหมือนมีสองคนคอยทุ่มเถียงคอยเตะสกัด คอยชักเย่อดึงกันไปดันกันมาจนเกิดความวุ่นวายสับสนว่าเราอยากเอาอย่างไรแน่
    ที่แท้แล้ว ใจจริงอาจไม่ตรงกับสิ่งที่เราคิด แต่ใจจริงก็เปลี่ยนไปได้เรื่อยๆตามความคิดที่เกิดขึ้นบ่อยๆ
    แม้ยังไม่ทราบว่าใจจริงของตัวเองอยู่ที่ไหน แต่ทุกคนต้อง ‘มีใจ’ ให้กับสิ่งใดสิ่งหนึ่งเฉพาะหน้าเสมอ และนั่นก็เป็นคำตอบว่าทำไมพวกเราถึงเลือกเรียนสาขาอาชีพแตกต่างกัน เป็นคำตอบว่าทำไมพวกเราถึงเลือกผู้แทนราษฎรต่างคนกัน เป็นคำตอบว่าทำไมพวกเราถึงเลือกนับถือศาสดาองค์ใดองค์หนึ่งผิดแผกไปจากกัน
    คำถามคือ เรากำลังมีใจให้กับอะไรล่ะ? ถ้าได้แนวคำถาม ก็จะได้แนวคำตอบ และเมื่อได้แนวคำตอบ ก็จะเริ่มมองเห็นทิศทางเส้นทางกรรมของตนเองได้เช่นกัน


    ทุกวันนี้เรามีชีวิตอยู่เพื่อใคร?

    คำว่า ‘อยู่เพื่อใคร’ นั้นมีความหมายว่าเราคิดว่าชีวิตตัวเองมีค่า มีความหมาย หรือกระทั่งมีความสำคัญขนาดขาดไม่ได้สำหรับใครบ้าง หากคิดออกในทันทีทันใดถือว่าเข้าข่าย แต่ถ้าต้องค่อยๆนึกทบทวนเป็นเวลานาน อย่างนั้นให้เอาชื่อนั้นออกไปจากบัญชีก่อน และขอให้ระลึกว่าเราอาศัยอยู่กับใครกี่ร้อยกี่พันคนไม่สำคัญ สำคัญคือใจเรารู้สึกว่าตัวเองอยู่เพื่อใครบ้างที่ยังมีชีวิตอยู่ในโลกนี้ จะอาศัยพำนักอยู่กับเราหรือไม่ก็ตาม


    หากคำตอบตามซื่อคือ ‘อยู่เพื่อตัวฉันคนเดียว’ ก็อย่าเพิ่งต่อว่าตัวเอง เพราะอย่างน้อยที่สุดเราก็ซื่อพอจะยอมรับอยู่เงียบๆในใจ ไม่บิดเบือนหรือหลอกตัวเอง เพื่อได้รับทราบว่ามีโอกาสสูงที่เราจะทำบาปทำกรรมโดยไม่คิดคำนึงถึงความเดือดร้อนของใครๆทั้งสิ้น เราย่อมไม่มีข้อจำกัดว่าควรทำประมาณนี้ ไม่ควรทำประมาณนั้น ทุกอย่างขึ้นอยู่กับสถานการณ์และโอกาสเฉพาะหน้าอย่างเดียว


    หากคำตอบคือ ‘อยู่เพื่อตัวฉันและใครอีกคน’ พูดง่ายๆว่าชีวิตนี้มีความหมายสำหรับสองคน เรามีความไยดีคิดเกื้อกูลใครอีกคนหนึ่ง อย่างน้อยเราก็คิดถึงคนอื่นเป็น และอาจเริ่มทำหลายสิ่งหลายอย่างด้วยความชั่งอกชั่งใจมากขึ้นกว่าคำตอบข้อแรกนิดหนึ่ง เพราะถ้าทำบาปโดยไม่ยั้งคิด อย่างน้อยใครอีกคนอาจเสียใจ หรือพลอยได้รับผลกระทบใน ทางร้ายไปด้วย ใจที่พะวงห่วงใยใครอีกคนจะช่วยเตือนสติบ้างแล้วเล็กๆน้อยๆ คำตอบนี้อาจจะยังชี้ว่าเราเป็นคนครึ่งดีครึ่งร้ายได้ ตามแต่สถานการณ์ที่เอื้อประโยชน์ให้กับเราและ ใครอีกคน


    หากคำตอบคือ ‘อยู่เพื่อตัวฉันและคนอีกกลุ่มหนึ่งที่คุ้นเคยกัน’ คือถ้าคิดว่าต้องมีคนอื่นต้องพึ่งพาเรา หรือมีส่วนได้ส่วนเสียกับเราตั้งแต่สองคนขึ้นไป และเรามีความไยดีกับกลุ่มคนเหล่านั้นอย่างแท้จริง ทุกการกระทำของเราจะเต็มไปด้วยการระมัดระวังมากขึ้น การตัดสินใจตามอัธยาศัย หรือการทำอะไรตามอำเภอใจจะน้อยลง แม้เบื่องานก็จะไม่ลาออก แม้อยากประชดใครก็จะไม่ประชด แม้อยากไปเที่ยวก็จะไม่ไปเที่ยว คำตอบนี้อาจจะยังชี้ว่าเราเป็นคนครึ่งดีครึ่งร้ายได้ ตามแต่สถานการณ์ที่เอื้อประโยชน์ให้กับเราและคนอีกกลุ่มหนึ่ง


    หากคำตอบคือ ‘อยู่เพื่อตัวฉันและคนกลุ่มใหญ่ที่อาจจะไม่เคยรู้จักมักคุ้นเลย’ อย่างเช่นเป็นนักการเมืองที่มีอุดมคติแรงกล้า หรือเป็นพวกที่พยายามปลดแอกจากทรราชผู้นิยมการกดขี่ หรือเป็นพวกที่พยายามเพียรเผยแพร่แนวความเชื่อซึ่งเห็นว่าเป็นประโยชน์อย่างแท้จริง อย่างนี้เราจะเริ่มรู้จักคำว่า ‘อยู่เพื่อคนอื่น’ บ้างแล้ว คำตอบนี้สามารถชี้ว่าเราสามารถเป็นคนดีได้มากกว่าคนร้ายโดยไม่จำกัดสถานการณ์


    หากคำตอบคือ ‘อยู่เพื่อคนอื่นถ่ายเดียวโดยไม่เลือกหน้า’ อันนี้ออกจะฟังดูเป็นบุคคลในอุดมคติเกินมนุษย์ธรรมดาไปหน่อย แต่ก็มีอยู่จริงๆ โลกนี้มีบุคคลไว้เป็นตัวอย่างทุกประเภท พวกที่มีแต่ใจคิดสละออกอย่างแท้จริงได้แก่พระพุทธเจ้าและพระอรหันตสาวกผู้หมดความรู้สึก เกี่ยวกับตัวตนแล้ว พวกท่านอยู่เหนือการตัดสินใจอันเป็นกุศลและอกุศลแล้ว ทำอะไรไปไม่ต้องรับผลจากกรรมนั้นๆแล้ว มีความสุขสงบเป็นนิรันดร์แล้ว นอกจากนี้ยังมีมนุษย์อีก ประเภทหนึ่ง ซึ่งทำดีเพื่อคนอื่นจนติดใจในรสความสุขยิ่งใหญ่ จึงอุทิศชีวิตทั้งหมดให้กับสังคม หากบั้นปลายของการอุทิศตัวไม่หลงเหลิงไปกับอำนาจวาสนาอันเป็นวิบากเห็นทันตาในชาติปัจจุบัน เขาก็จะมีชีวิตบนเส้นทางแห่งความดีอันยากนักที่ปุถุชนด้วยกันจะดำเนินได้ กุศลกรรมของเขาจะ สุกสว่างบริสุทธิ์ มองด้วยตาเปล่าของปุถุชนแล้วอาจนึกว่าเป็นพระอรหันต์เลยทีเดียว



    ทุกวันนี้เรามีชีวิตอยู่เพื่อรับใช้ความเชื่อแบบใด?

    คนเราใช้ชีวิตตามสถานการณ์เป็นอันดับแรก สิ่งใดเข้ามากระทบก็ต้องมีปฏิกิริยาโต้ตอบสิ่งกระทบนั้น แต่เมื่อใช้ชีวิตไปถึงจุดหนึ่ง เราจะพบว่าชีวิตของเรากำลังยืนอยู่บนความเชื่ออะไรสักอย่าง

    หากคำตอบคือ ‘เราเชื่อว่าอยู่ไปเรื่อยๆเหมือนคนอื่นโดยไม่ต้องคิดอะไรมากก็ได้’ อันนี้เป็นมุมมองที่ ไม่เสี่ยงดี ถ้ามีมุมมองนี้และไม่เปลี่ยนแปลงไปจนตาย เราก็ไม่ต้องขวนขวายอะไรเพิ่มเติม นอกจากใช้ชีวิตให้เป็นปกติสุข ไม่ต้องเข้าโรงพยาบาลบ้า ไม่ต้องแสวงหาสัจจะที่ไม่รู้อยู่ตรงไหน และที่สำคัญคือไม่ต้องเสียใจในภายหลังว่าเชื่ออะไรผิดๆ แต่ข้อเสียของการมีมุมมองแบบนี้คือถ้าโลกกำลังถูกห่อหุ้มด้วยความเห็นผิด และด้วยบาปอกุศลที่แพร่ระบาดยิ่งกว่าไวรัส ก็แปลว่าการอยู่ไปเรื่อยๆเหมือนคนอื่นอาจหมายถึงการยอมร่วมเห็นผิด และทำบาปอกุศล สร้างทางเลวร้ายให้ตัวเองอย่างน่าใจหาย

    หากคำตอบคือ ‘เราเชื่อว่าเป็นคนดีไม่เบียดเบียนใครก็พอ’ อันนี้ก็เป็นมุมมองที่ปลอดภัยกับคนอื่นดี และดูเหมือนจะเพียงพอแล้วกับชีวิตหนึ่ง จะเอาอะไรมากไปกว่าการไม่เป็นที่เดือดร้อนของสังคม แต่การมีมุมมองว่าแค่ไม่เบียดเบียนใครก็พอนั้น อาจจะพอจริงเฉพาะที่ชาติปัจจุบัน ถ้าไม่มีชาติหน้าคงไม่ต้องคำนึงอะไรอีก แต่ถ้าเผื่อชาติหน้ามันมีขึ้นมา เราก็อาจได้ชื่อว่าไม่ยอมเตรียมเสบียงไว้เผื่อขาดเผื่อเหลือ ไม่เตรียมการป้องกันไว้ให้รัดกุมแน่นหนา

    หากคำตอบคือ ‘เราเชื่อว่าค่าของคนอยู่ที่ผลของงาน’ อันนี้เป็นมุมมองที่ทำให้โลกหมุนไปไม่ขัดข้อง เพราะการมีคนทุ่มชีวิตให้กับงานนั้น ทำให้เกิดวิวัฒนาการด้านต่างๆ ทั้งวิทยาศาสตร์ การตลาด ตลอดจนกระทั่งการศาสนา แต่การมีมุมมองว่าค่าของคนอยู่ที่ผลของงานนั้น บางทีทำให้เรามองข้ามไปว่างานของเราส่งผลสะเทือนด้านดีหรือด้านร้ายต่อผู้คนในวงกว้าง ความจริงก็คือหลายครั้งโลกนี้พลิกโฉมไปโดยน้ำมือของคนเพียงไม่กี่คน โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนในวงการบันเทิงที่ออกคอนเสิร์ต สร้างภาพยนตร์ อัดฉีดความคิดมักง่ายประการต่างๆเข้าสู่สมองของเด็กและวัยรุ่นทั่วโลก

    หากคำตอบคือ ‘เราเชื่อว่าจุดหมายสูงสุดของชีวิตมีอยู่ และเราก็ควรวิ่งเข้าไปหามัน’ อันนี้เป็นมุมมองที่เริ่มทำให้จิตวิญญาณมีความผิดแผกแตกต่างจากคนธรรมดาสามัญทั่วไป เพราะคนส่วนใหญ่เขาไม่ได้คิดกันอย่างนี้ แต่การมีมุมมองว่าเราควรแสวงหาจุดหมายสูงสุดของชีวิตด้วยตนเองนั้น ถ้าบารมีเก่าไม่แก่กล้าพอ ก็คงต้องเสียเวลาในชีวิตไปชาติหนึ่งเพื่อคว้าน้ำเหลว หรืออย่างเก่งก็ไปติดอยู่ในภูมิใดภูมิหนึ่งระหว่างเทวดากับพรหม ทั้งนี้เพราะสิ่งที่เรียกว่า ‘ความจริงสุดท้าย’ หรือ ‘ยอดสุดแห่งความจริง’ ในธรรมชาตินั้น ไม่ใช่วิสัยที่ใครจะตั้งโจทย์ให้เกิดมุมมองที่ถูกต้องจนไปถึงเป้าหมายปลายทางได้ง่ายๆ คนส่วนใหญ่จะวนเวียนตั้งคำถามที่ทำให้เกิดความคิดห่างไกลความจริงไปเรื่อยๆ หรือไม่ก็ประพฤติปฏิบัติตนฉีกแนวจากผู้บริโภคกาม แล้วนั่งนิ่งสงบทื่อ หลีกหนีความวุ่นวายโดยไม่รู้อะไรมากไปกว่าความสงบนิ่งเป็นบรมสุข

    หากคำตอบคือ ‘เราเชื่อว่ากายใจอันเป็นที่ตั้งของอุปาทานนี้เป็นทุกข์ และมีหนทางที่ดับอุปาทานในกายใจได้จริง’ อันนี้เป็นมุมมองตามพระพุทธองค์ ที่ทรงตั้งโจทย์ ไว้ชัดเจนแล้ว กระชับแล้ว รู้ตามได้ง่ายแล้ว ไม่จำเป็นต้องเสียเวลาคิดคำถามสร้างมุมมอง และไม่จำเป็นต้องเสียเวลาดุ่มเดินหาคำตอบจากที่ไหนอีก การมีมุมมองอย่างชัดเจนว่าทุกข์เกิดจากอะไร เราจะดับทุกข์ได้อย่างไร จะไม่ทำให้เราเสียเวลาในชีวิตไปเปล่าๆ เพราะเพียงด้วยเวลาอันไม่นานเกินรอ เราก็สามารถพิสูจน์ได้แล้วว่าเรื่องทุกข์และการดับทุกข์ในพระพุทธศาสนานั้น เป็นเรื่องจริง หรือของหลอก มีการยืนยันไว้ชัดเจนว่าถ้าใครศึกษาและปฏิบัติตามวิชา ‘รู้ตามจริง’ ของพระพุทธเจ้าอย่างเต็มความสามารถ เขาจะถึงที่สุดทุกข์ภายใน ๗ ปีเป็นอย่างช้า แต่ถ้าบารมีแก่กล้ากว่านั้นก็อาจทำลายทุกข์ลงได้สิ้นอย่างรวดเร็วภายในเวลาเพียง ๗ วัน!
     
  4. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,907
    ค่าพลัง:
    +16,490
    พึงเที่ยวไปผู้เดียว



    [​IMG]




    • · บุคคลวางอาชญาในสัตว์ทั้งปวงแล้ว ไม่เบียดเบียนบรรดาสัตว์เหล่านั้น</PRE>
    แม้ผู้ใดผู้หนึ่งให้ลำบาก ไม่พึงปรารถนาบุตรจะพึงปรารถนาสหายแต่ที่ไหน พึงเที่ยวไป</PRE>

    ผู้เดียวเหมือนนอแรด ฉะนั้น.

    </PRE>​

    • ความเยื่อใยย่อมมีแก่บุคคลผู้เกี่ยวข้องกัน ทุกข์นี้ย่อมเกิดขึ้นตามความเยื่อใย</PRE>
    บุคคลเล็งเห็นโทษอันเกิดแต่ความเยื่อใย พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น.
    </PRE>

    • · บุคคลอนุเคราะห์มิตรสหาย เป็นผู้มีจิตปฏิพัทธ์แล้ว ชื่อว่าย่อมยังประโยชน์ให้</PRE>
    เสื่อม บุคคลเห็นภัย คือ การยังประโยชน์ให้เสื่อมในการเชยชิดนี้ พึงเที่ยวไปผู้เดียว</PRE>

    เหมือนนอแรด ฉะนั้น.
    </PRE>

    • · บุคคลข้องอยู่แล้ว ด้วยความเยื่อใยในบุตรและภริยาเหมือนไม้ไผ่กอใหญ่เกี่ยว</PRE>
    ก่ายกันฉะนั้น บุคคลไม่ข้องอยู่ เหมือนหน่อไม้ พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น.</PRE>

    </PRE>

    • · เนื้อในป่าที่บุคคลไม่ผูกไว้แล้ว ย่อมไปหากินตามความปรารถนา ฉันใด นรชน</PRE>
    ผู้รู้แจ้ง เพ่งความประพฤติตามความพอใจของตน พึงเที่ยวไปแต่ผู้เดียวเหมือนนอแรด</PRE>

    ฉะนั้น.
    </PRE>
    </PRE>

    • · การปรึกษาในที่อยู่ ที่ยืน ในการไปในการเที่ยว ย่อมมีในท่ามกลางแห่งสหาย</PRE>
    บุคคลเพ่งความประพฤติตามความพอใจ ที่พวกบุรุษชั่วไม่เพ่งเล็งแล้วพึงเที่ยวไปผู้เดียว</PRE>

    เหมือนนอแรด ฉะนั้น.
    </PRE>

    </PRE>

    • · การเล่น การยินดี ย่อมมีในท่ามกลางแห่งสหาย อนึ่ง ความรักที่ยิ่งใหญ่</PRE>
    ย่อมมีในบุตรทั้งหลาย บุคคลเมื่อเกลียดชังความพลัดพรากจากสัตว์และสังขารอันเป็น</PRE>

    ที่รัก พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น.
    </PRE>
    </PRE>

    • · บุคคลย่อมเป็นอยู่ตามสบาย ในทิศทั้งสี่และไม่เดือดร้อน ยินดีด้วยปัจจัยตามมี</PRE>
    ตามได้ ครอบงำเสียซึ่งอันตราย ไม่หวาดเสียว พึงเป็นผู้เที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด</PRE>

    ฉะนั้น.
    </PRE>
    </PRE>

    • · แม้บรรพชิตบางพวกก็สงเคราะห์ได้ยาก อนึ่ง คฤหัสถ์ผู้อยู่ครองเรือนสงเคราะห์</PRE>
    ได้ยาก บุคคลเป็นผู้มีความขวนขวายน้อยในบุตรของผู้อื่น พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือน</PRE>

    นอแรด ฉะนั้น.
    </PRE>
    </PRE>

    • · นักปราชญ์ละเหตุ อันเป็นเครื่องปรากฏแห่งคฤหัสถ์ ดุจต้นทองหลางมีใบ</PRE>
    ร่วงหล่น ตัดเครื่องผูกแห่งคฤหัสถ์ได้แล้วพึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น.</PRE>
    </PRE>

    • · เราย่อมสรรเสริญสหายผู้ถึงพร้อมด้วยศีลขันธ์เป็นต้น พึงคบสหายผู้ประเสริฐ</PRE>
    สุด ผู้เสมอกัน กุลบุตรไม่ได้สหายผู้ประเสริฐสุดและผู้เสมอกันเหล่านี้แล้ว พึงเป็น</PRE>

    ผู้บริโภคโภชนะไม่มีโทษ เที่ยวไปผู้เดียวเหมือนนอแรด ฉะนั้น.
    </PRE>
    </PRE>

    • · บุคคลแลดูกำไลทองทั้งสองอันงามผุดผ่อง ที่บุตรแห่งนายช่างทองให้สำเร็จ</PRE>
    ด้วยดีแล้ว กระทบกันอยู่ในข้อมือ พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น.</PRE>
    </PRE>

    • · การที่เราจะพึงพูดจากับพระกุมารที่สอง หรือการข้องอยู่ด้วยอำนาจแห่งความ</PRE>
    เยื่อใย พึงมีได้อย่างนี้ บุคคลเล็งเห็นภัยนี้ในอนาคต พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด</PRE>

    ฉะนั้น.
    </PRE>
    </PRE>

    • · ก็กามทั้งหลายงามวิจิตร มีรสอร่อยเป็นที่รื่นรมย์ใจ ย่อมย่ำยีจิตด้วยรูปแปลกๆ</PRE>
    บุคคลเห็นโทษในกามคุณทั้งหลายแล้ว พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น.</PRE>
    </PRE>

    • · บุคคลเห็นภัย คือ จัญไร ฝี อุปัทวะโรค ลูกศร และความน่ากลัวนี้ ในกามคุณ</PRE>
    ทั้งหลายแล้ว พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนอแรด ฉะนั้น.</PRE>
    </PRE>

    • · บุคคลพึงครอบงำอันตรายเหล่านี้แม้ทั้งปวง คือ หนาว ร้อน หิว ระหาย ลม</PRE>
    แดด เหลือบและสัตว์เลื่อยคลานแล้ว พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น.</PRE>
    </PRE>

    • · บุคคลพึงเป็นผู้เที่ยวไปผู้เดียวเหมือนนอแรด เปรียบเหมือนช้างใหญ่ที่เกิดใน</PRE>
    ตระกูลปทุม มีขันธ์เกิดขึ้นแล้ว ละโขลงอยู่ในป่าตามอภิรมย์ ฉะนั้น.</PRE>
    </PRE>

    • · บุคคลพึงใคร่ครวญถ้อยคำของพระปัจเจกพุทธเจ้าผู้เป็นเผ่าพันธุ์พระอาทิตย์ว่า</PRE>
    การที่บุคคลผู้ยินดีแล้วด้วยการคลุกคลีด้วยคณะจะพึงบรรลุวิมุตติอันมีในสมัย นั้นไม่</PRE>

    เป็นฐานะที่จะมีได้พึงเที่ยวไปผู้เดียวเหมือนนอแรด ฉะนั้น.
    </PRE>
    </PRE>

    • · เราล่วงพ้นทิฏฐิอันเป็นข้าศึกได้แล้วถึงความเป็นผู้เที่ยง ได้มรรคแล้ว เป็นผู้มี</PRE>
    ญาณเกิดขึ้นแล้ว อันผู้อื่นไม่พึงแนะนำ พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น.</PRE>
    </PRE>

    • · บุคคลผู้ไม่โลภ ไม่หลอกลวง ไม่มีความกระหาย ไม่ลบหลู่ มีโมหะดุจน้ำฝาด</PRE>
    อันกำจัดเสียแล้ว ไม่มีความอยาก ครอบงำโลกทั้งปวงได้แล้ว พึงเที่ยวไปผู้เดียวเหมือน</PRE>

    นอแรด ฉะนั้น.
    </PRE>
    </PRE>

    • · กุลบุตรพึงเว้นสหายผู้ลามก ไม่พึงเสพด้วยตนเอง ซึ่งสหายผู้ชี้บอกความ</PRE>
    ฉิบหายมิใช่ประโยชน์ ผู้ตั้งอยู่ในกรรมอันไม่เสมอ ผู้ข้องอยู่ ผู้ประมาท พึงเที่ยวไป</PRE>

    ผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น.
    </PRE>
    </PRE>

    • · บุคคลพึงคบมิตรผู้เป็นพหูสูตทรงธรรม ผู้ยิ่งด้วยคุณธรรม มีปฏิภาณ รู้จัก</PRE>
    ประโยชน์ ทั้งหลาย กำจัดความสงสัยได้แล้วพึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น.</PRE>
    </PRE>

    • · บุคคลไม่พอใจการเล่น ความยินดีและกามสุขในโลกแล้ว ไม่เพ่งเล็งอยู่ เว้น</PRE>
    จากฐานะแห่งการประดับ มีปกติกล่าวคำสัตย์ พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด</PRE>

    ฉะนั้น.
    </PRE>
    </PRE>

    • · บุคคลละบุตร ภรรยา บิดา มารดาทรัพย์ ข้าวเปลือก พวกพ้อง และกามซึ่ง</PRE>
    ตั้งอยู่ตามส่วนแล้ว พึงเที่ยวไปผู้เดียวเหมือนนอแรด ฉะนั้น.</PRE>
    </PRE>

    • · บัณฑิตทราบว่าความเกี่ยวข้องในเวลาบริโภคเบญจกามคุณนี้มีสุขน้อย มีความ</PRE>
    ยินดีน้อย มีทุกข์มาก ดุจหัวฝี ดังนี้แล้วพึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น.</PRE>
    </PRE>

    • · บุคคลพึงทำลายสังโยชน์ทั้งหลายเสียเหมือนปลาทำลายข่าย เหมือนไฟไม่หวน</PRE>
    กลับมาสู่ที่ไหม้แล้ว พึงเที่ยวไปผู้เดียวเหมือนนอแรด ฉะนั้น.</PRE>
    </PRE>

    • · บุคคลผู้มีจักษุทอดลงแล้ว ไม่คะนองเท้า มีอินทรีย์อันคุ้มครองแล้ว มีใจอันรักษา</PRE>
    แล้ว ผู้อันกิเลสไม่รั่วรดแล้ว และอันไฟคือกิเลสไม่แผดเผาอยู่ พึงเที่ยวไปผู้เดียว</PRE>

    เหมือนนอแรด ฉะนั้น.
    </PRE>
    </PRE>

    • · บุคคลละเพศแห่งคฤหัสถ์ ดุจต้นทองหลางมีใบร่วงหล่นแล้วนุ่งห่มผ้ากาสายะ</PRE>
    ออกบวชเป็นบรรพชิต พึงเที่ยวไปผู้เดียวเหมือนนอแรด ฉะนั้น.</PRE>
    </PRE>

    • · ภิกษุไม่กระทำความยินดีในรสทั้งหลาย ไม่โลเล ไม่เลี้ยงคนอื่น มีปกติเที่ยว</PRE>
    บิณฑบาตตามลำดับตรอก ผู้มีจิตไม่ผูกพันในตระกูล พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด</PRE>

    ฉะนั้น.
    </PRE>
    </PRE>

    • · บุคคลละธรรมเป็นเครื่องกั้นจิต ๕ อย่าง บรรเทาอุปกิเลสทั้งปวงแล้ว ผู้อัน</PRE>
    ทิฏฐิไม่อาศัย ตัดโทษคือความเยื่อใยได้แล้วพึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น.</PRE>
    </PRE>

    • · บุคคลละสุข ทุกข์ โสมนัสและโทมนัสในกาลก่อนได้ ได้อุเบกขาและสมถะ</PRE>
    อันบริสุทธิ์แล้ว พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น.</PRE>
    </PRE>

    • · บุคคลปรารภความเพียรเพื่อบรรลุปรมัตถประโยชน์ มีจิตไม่หดหู่ มีความ</PRE>
    ประพฤติไม่เกียจคร้านมีความบากบั่นมั่นคงถึงพร้อมแล้ว ด้วยกำลังกาย และกำลังญาณ</PRE>

    พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น.
    </PRE>
    </PRE>

    • · บุคคลไม่ละการหลีกเร้นและฌาน มีปกติประพฤติธรรม อันสมควรเป็นนิตย์ใน</PRE>
    ธรรมทั้งหลาย พิจารณาเห็นโทษในภพทั้งหลาย พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด</PRE>

    ฉะนั้น.
    </PRE>
    </PRE>

    • · บุคคลผู้ปรารถนาความสิ้นตัณหาพึงเป็นผู้ไม่ประมาท ไม่เป็นคนบ้าคนใบ้</PRE>
    มีการสดับ มีสติ มีธรรมอันกำหนดรู้แล้วเป็นผู้เที่ยง มีความเพียร พึงเที่ยวไปผู้เดียว</PRE>

    เหมือนนอแรด ฉะนั้น.
    </PRE>
    </PRE>

    • · บุคคลไม่สะดุ้งในธรรมมีความไม่เที่ยงเป็นต้น เหมือนราชสีห์ไม่สะดุ้งในเสียง</PRE>
    ไม่ข้องอยู่ ในธรรมมีขันธ์และอายตนะเป็นต้น เหมือนลมไม่ข้องอยู่ในข่าย ไม่ติด</PRE>

    อยู่ด้วยความยินดี และความโลภ เหมือนดอกปทุมไม่ติดอยู่ด้วยน้ำ พึงเที่ยวไปผู้เดียว
    </PRE>

    เหมือนนอแรด ฉะนั้น.
    </PRE>
    </PRE>

    • · บุคคลพึงเสพเสนาสนะอันสงัด เป็นผู้เที่ยวไปผู้เดียวเช่นกับนอแรด เหมือน</PRE>
    ราชสีห์มีเขี้ยวเป็นกำลัง ข่มขี่ครอบงำหมู่เนื้อเที่ยวไป ฉะนั้น.</PRE>
    </PRE>

    • · บุคคลเสพอยู่ซึ่งเมตตาวิมุตติ กรุณาวิมุตติ มุทิตาวิมุตติ และอุเบกขาวิมุตติ</PRE>
    ในกาลอันควร ไม่ยินร้ายด้วยโลกทั้งปวงพึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น.</PRE>
    </PRE>

    • · บุคคลละราคะ โทสะ และโมหะแล้วทำลายสังโยชน์ทั้งหลายแล้ว ไม่สะดุ้งใน</PRE>
    เวลาสิ้นชีวิต พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนนอแรด ฉะนั้น.</PRE>
    </PRE>
    </PRE>
     
  5. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,907
    ค่าพลัง:
    +16,490
    การเกิดเป็นมนุษย์เป็นของยาก


    [​IMG]

    สมัยพุทธกาลพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมอยู่ ณ วัดพระเชตวัน มีอุบาสก 5 คนเป็นเพื่อนกัน มานั่งฟังธรรม ทั้ง 5 คนต่างมีกิริยาอาการต่าง ๆ กัน

    คนหนึ่ง
    นั่งหลับ
    คนหนึ่งนั่งเอานิ้วเขียนพื้นดินเล่น
    คนหนึ่งนั่งเขย่า ต้นไม้
    คนหนึ่งนั่งแหงนดูท้องฟ้า
    มีเพียงคนเดียวที่นังฟังธรรมด้วย อาการสงบ

    พระอานนท์กราบทูลถามพระพุทธเจ้าว่า "ทำไมอุบาสกเหล่านี้จึงแสดงกิริยาเช่นนั้น" พระพุทธเจ้าจึงทรงเล่าอดีตชาติของอุบาสกแต่ละคนว่า

    อุบาสกที่นั่งหลับ เคยเกิดเป็นงูมาแล้วหลายร้อยชาติ เขาหลับมาหลายร้อยชาติแล้วก็ยังไม่อิ่ม แม้แต่ฟังเทศน์พระพุทธเจ้า ธรรมะก็ไม่เข้าหู ยังหลับอยู่อย่างนั้น

    อุบาสกที่นั่งเอานิ้วเขียน พื้นดิน เคยเกิดเป็นไส้เดือนมาหลายร้อยชาติ นั่งเอานิ้วเขียนบนพื้นดินเล่นอยู่อย่างนั้น ด้วยอำนาจความประพฤติที่ตัวเคยทำมา ก็ไม่ได้ยินธรรมะของพระพุทธเจ้าเช่นกัน

    อุบาสกที่นั่งเขย่าต้นไม้อยู่นั้น เกิดเป็นลิงมาแล้วหลายร้อยชาติ ถึงบัดนี้ก็ยังเขย่าต้นไม้อยู่ ไม่ได้ยินธรรมะของพระพุทธเจ้าเช่นกัน

    อุบาสกที่นังแหงนดูท้องฟ้านั้น เคยเกิดเป็นพราหมณ์บอกฤกษ์ด้วยการดูดาวมาหลายร้อยชาติ ถึงบัดนี้ก็ยังคงนั่งดูท้องฟ้าอยู่ ไม่ได้ยินธรรมะของพระพุทธเจ้า

    อุบาสกที่นั่งฟังธรรมอย่างสงบด้วยความเคารพ เคยเกิดเป็นพราหมณ์ศึกษาธรรมะและปรัชญา ค้นคว้าหาความจริงมาหลายร้อยชาติ มาบัดนี้ได้พบพระพุทธเจ้า ตั้งใจฟังธรรมด้วยดี จนได้ดวงตาเห็นธรรมเป็นพระโสดาบัน

    อ่านมาถึงตรงนี้หลายคนอาจจะนึกสงสัยว่า ชาติก่อนเราเกิดเป็นอะไรหนอ

    พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า การได้เกิดเป็นมนุษย์นั้นเป็นเรื่องยาก ต้องมีบุญมาก อุปมาเหมือนเต่าตาบอดตัวหนึ่งดำน้ำอยู่ในทะเล ทุกๆ 100 ปี เต่าตาบอดตัวนั้นจะโผล่หัวขึ้นมาจากทะเลครั้งหนึ่ง ในทะเลมีห่วงเล็กๆ ขนาดใหญ่กว่าหัวเต่าหน่อยหนึ่งลอยอยู่ 1 ห่วง โอกาสที่เต่าตาบอดตัวนั้นจะโผล่ขึ้นมา แล้วหัวสวมเข้ากับห่วงพอดียากเพียงใด โอกาสนั้นก็ยังมีมากกว่า การที่เหล่าสรรพสัตว์จะได้มาเกิดเป็นมนุษย์

    ในฐานะมนุษย์ไม่มากก็น้อยที่ใจของเราได้มีประสบการณ์ในภพชาติอื่น ๆ ทั้งที่ต่ำกว่าและสูงกว่าภพมนุษย์ เรามีปัญญาที่จะรู้ได้จากประสบการณ์ของเราแล้วว่าอะไรดี อะไรไม่ดี

    การเกิดเป็นมนุษย์ถ้าดีก็ดีได้มากๆ แต่ก็น่ากลัวเหมือนกัน เพราะถ้าประมาทก็ทำชั่วได้มาก ถ้าไม่ประมาท รักษาศีล 5 ทำความดี สร้างบารมี ตั้งใจพัฒนาชีวิตจิตใจแล้วก็สามารถมีประสบการณ์สูงขึ้น เป็นเทวดา พรหม ตลอดจนเข้าถึงอริยมรรค อริยผล บรรลุนิพพานได้ มนุษย์จึงเป็นชาติที่มีทางเลือก

    พระพุทธเจ้าตรัสไว้ว่า
    เป็นการยากที่ได้เกิดเป็นมนุษย์
    เป็นการยากที่ชีวิตสัตว์จะได้ อยู่สบาย
    เป็นการยากที่จะได้ฟังธรรมของสัตบุรุษ
    เป็นการยากที่พระ พุทธเจ้าจะอุบัติมา

    เมื่อรู้เช่นนี้แล้วเราจึงควรเห็นคุณค่าของการเกิดเป็นมนุษย์ อย่าให้เสียโอกาส เสียเวลาไปโดยเปล่าประโยชน์เอาใจใส่รักษาความเป็นมนุษย์ไว้ให้มั่นคง

    ดังนั้นสำหรับการเกิดเป็นมนุษย์ในชาติหนึ่ง การเลือกทางดำเนินชีวิตของเราจึงเป็นสิ่งสำคัญที่สุด

    การอุบัติของพระพุทธเจ้ามีได้ยาก
    การได้เกิดมาเป็นมนุษย์เป็นของยาก
    การได้เกิดมาเป็นมนุษย์แล้วพบพระพุทธศาสนาเป็นเรื่องยากอย่างยิ่งกว่า
     
  6. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,907
    ค่าพลัง:
    +16,490
    [​IMG]
    <IFRAME style="DISPLAY: none" height=1 border=0 src="http://synad2.nuffnang.co.th/track/beacon/skyscraper/1000215/7499773/dhammaworld.exteen.com%252F20080224%252Fentry" width=1></IFRAME><!-- nuffnang-->
    [​IMG]dhammaworldView my profile

    Previous

    Latest Comments

    Recommend

    Links

    คำสอนพระอรหันต์จี้กง

    posted on 24 Feb 2008 08:43 by dhammaworld in buddha

    [​IMG]

    1. ชีวิตย่อมเป็นไปตามวิถีแห่งกรรมที่ลิขิต (ละชั่วทำดี) วอนขออะไร
    2. วันนี้ไม่รู้เหตุการณ์ในวันพรุ่งนี้ กลุ้มเรื่องอะไร
    3.เคารพพระพุทธเจ้าไม่เคารพพ่อแม่ เคารพเรื่องอะไร
    4. พี่น้องคือผู้ที่เกิดตามกันมา ทะเลาะกันทำไม
    5. ลูกหลานทุกคนล้วนมีบุญตามลิขิต ห่วงใยทำไม
    6. ชีวิตย่อมมีโอกาสประสบความสำเร็จได้ ร้อนใจทำไม
    7. ชีวิตใช่จะพบเห็นรอยยิ้มกันได้ง่าย ทุกข์ใจทำไม
    8. ผ้าขาดปะแล้วกันหนาวได้ อวดโก้ทำไม
    9. อาหารผ่านลิ้นแล้วกลายเป็นอะไร อร่อยไปใย
    10. ตายแล้วบาทเดียวก็เอาไปไม่ได้ ขี้เหนียวทำไม
    11. ที่ดินคือสิ่งที่สืบทอดแก่คนรุ่นหลัง โกงกันทำไม
    12. โอกาสจะได้กลายเป็นเสีย โลภมากทำไม
    13. สิ่งศักดิ์สิทธิ์อยู่เหนือศีรษะเพียง 3 ฟุต ข่มเหงกันทำไม
    14. ลาภยศเหมือนดอกไม้ที่บานอยู่ไม่นาน หยิ่งผยองทำไม
    15. ทุกคนย่อมมีลาภยศตามวาสนาที่ลิขิต อิจฉากันทำไม
    16. ชีวิตลำเค็ญเพราะชาติก่อนไม่บำเพ็ญ แค้นใจทำไม(บำเพ็ญไวๆ)
    17. นักเล่นการพนันล้วนตกต่ำ เล่นการพนันทำไม
    18. ครองเรือนด้วยการประหยัดดีกว่าไปพึ่งผู้อื่น สุรุ่ยสุร่ายทำไม
    19. จองเวรจองกรรมเมื่อไหร่จะจบสิ้น อาฆาตทำไม
    20. ชีวิตเหมือนเกมหมากรุก คิดลึกทำไม
    21. ฉลาดมากเกินจึงเสียรู้ รู้มากทำไม
    22. พูดเท็จทอนบุญจนบุญหมด โกหกทำไม
    23. ดีชั่วย่อมรู้กันในที่สุด โต้เถียงทำไม
    24. ใครจะป้องกันมิให้เกิดเรื่องได้ตลอด หัวเราะเยาะกันทำไม
    25. ฮวงซุ้ยดีอยู่ในจิตไม่ใช่อยู่ที่ภูเขา แสวงหาทำไม
    26. ข่มเหงผู้อื่นคือทุกข์ รู้ให้อภัยคือบุญ ถามโหรเรื่องอะไร
    27. ทุกสิ่งจบสิ้นลงด้วยความตาย วุ่นวายทำไม
     
  7. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,907
    ค่าพลัง:
    +16,490
    buddha
    เบื่อโลก...!

    ที่ต้องจั่วหัวว่า ‘ เบื่อโลก ก็เพราะประโยคนี้นั้นหากแม้แปลความตามนัยของโลกและธรรม นั้นต่างกัน ซึ่งอาจทำให้ผู้ปฏิบัติธรรมเกิดความไขว้เขวได้การศึกษาทางพุทธศาสนาโดย ปกติถ้าเข้า ใจลึกซึ้ง ก็จะทำให้เบื่อโลกแต่คำว่าเบื่อโลกนี้มิได้หมายความว่าจิตใจของผู้ปฏิบัติธรรมเป็นทุกข์... หรือเกิด ความเบื่อจนทำให้เป็นคนไม่คิดทำอะไรตามสำนวนภาษาไทยที่ว่า ‘ ทอดมือทอดตีน ’ แต่ในทางตรงกันข้าม ถ้าเป็นการเบื่อที่เรียกว่า ‘ นิพพิทา ’จะทำให้จิตใจเบิกบาน มีสติแจ่มใส รู้เหตุรู้ผล รู้มายาของโลกด้วยปัญญาธรรม

    คนที่ศึกษาธรรมแล้วบอกว่า ‘เบื่อโลก’ นั้น ต้องพิจารณาให้ละเอียดว่า เบื่อโลกในความหมายของตนนั้นเป็นอย่างไร เพราะส่วนมากไม่ได้เบื่อจริง ๆ จากการเกิดปัญญา หากเบื่อเพราะมีความกดดัน อยากได้อะไร อยากเป็นอะไร อยากมีอะไรก็ไม่สมความปรารถนา มีแต่ความผิดหวังบ่อย ๆ สำหรับคนประเภทนี้เมื่อหันมาศึกษาธรรม มักจะทำให้เบื่อโลกได้ง่าย...

    เบื่ออย่างนี้ไม่เรียกว่า ‘ นิพพิทา ’ แต่เป็น ‘ อรติ ’ ซึ่งเป็นกิเลสประเภทหนึ่ง... ตรงนี้จึงโปรดได้ตระหนักให้ดีว่า การซึ้งในธรรมแล้วเบื่อโลก ต้องเป็นการเบื่อโลกที่ถูกต้อง ไม่ใช่เบื่อเพราะความกดดัน คนเบื่อโลกโดยธรรมจะสังเกตได้ง่าย เป็นคนที่เข้าสมาธิได้ง่าย จิตใจผ่องใสเยือกเย็น ไม่ละทิ้งงาน หรือละทิ้งความรับผิดชอบ เว้นแต่การเปลี่ยนแปลงที่เขามองเห็นแล้วว่า เมื่อตนเปลี่ยนงานเปลี่ยนวิถีชีวิตแล้วจะเป็นผลดีต่อตนและผู้อื่นมากขึ้น เพราะคนที่เข้าใจธรรม คนที่ต้องการหลุดพ้นจากวัฏฏะของโลกจริง ๆ นั้น มีหลักตายตัวอยู่ว่าต้องประกอบด้วย ‘ ความเมตตา ความเสียสละ ความอดทนเพื่อผู้อื่นได้ ’ คุณธรรมดังกล่าวต้องมีในจิตใจมากมาย ไม่เช่นนั้นเป็นไปไม่ได้กับคำว่าเบื่อโลก เพราะเข้าใจธรรมแล้ว


    การศึกษา การปฏิบัติธรรมตามหลักพุทธศาสนานั้น ยึดหลัก ‘ สายกลาง ’ ถ้าเคร่งครัดหรือย่อหย่อนมากเกินไป จะไม่พอดีกับภาวะจิตใจของตน จะก่อให้เกิดความกดดันได้ง่าย อาการเบื่อที่เกิดขึ้นนั้นจะสังเกตได้ว่า ทำให้จิตใจไม่สบาย ซึ่งผิดกับผู้เบื่อในลักษณะถูกต้องตามธรรมะของพุทธศาสนานั้น จะประกอบด้วยจิตใจที่ ผ่องใสมาก และสำคัญที่สุดคือ...

    การเข้าสมาธิได้ง่ายมาก เป็นผู้มีเมตตาต่อผู้อื่นอย่างยิ่ง...

    ขอย้ำอีกครั้งว่า ศาสนาพุทธเน้นที่ ‘ จิตใจ ’ จิตที่รู้เท่าทันโลก จิตที่ตื่นจากอวิชชา จิตที่มี ปัญญา มีความเบิกบาน ซึ่งประการดังกล่าวเป็นความเบื่อโลกด้วยความเข้าใจธรรมแจ่มแจ้งจากปัญญาภายใน ไม่ใช่เบื่อจากความรู้สึกหมองหม่นเป็นทุกข์เกิดจากความกดดันจนเกิดการเบื่อ เพราะไม่ได้อย่างใจตน อันมาจาก ‘ อารมณ์ ’ ซึ่งเป็นเพียงอาการทางจิตของปุถุชนเท่านั้น...


    ที่ผู้เขียนหยิบยกปัญหาตรงนี้ขึ้นมากล่าวถึง ก็เพราะยามเมื่อเดินเข้าวัดหรือพบปะท่านผู้อ่านคอลัมน์ธรรมะ ๕ นาที ก็มักจะได้ยินคำ ปรารภว่า ‘เบื่อโลก’ จึงหันหน้าเข้าวัดปฏิบัติธรรมอยู่เสมอ ๆ ซึ่งก็นึกเป็นห่วงอยู่ในใจ เพราะบางรายกล่าวว่า...

    “มองอะไรมันเบื่อไปหมด ไม่อยากทำอะไร อยากอยู่เฉย ๆ” หรือบางคนกล่าวว่า “เดินออกจากบ้านมาเลย ไม่สนใจอะไรแล้ว”

    ซึ่งลักษณะดังกล่าว เป็นการหนีความกดดันมากกว่าความเบื่อโดยการเข้าใจธรรม เป็นการละทิ้งหน้าที่ เป็นการเบื่อจากภาวะทุกข์ชั่วคราวเท่านั้น...
    เบื่ออย่างนี้อีกไม่นานก็หาย เบื่อ และหวนกลับไปสู่ความอยากได้ อยากมีอีกในไม่ช้า...




    ถึงตรงนี้ ภูเตศวรขอย้ำเตือนท่านทั้งหลายว่า พุทธศาสนาสอนให้เรารู้จักการเผชิญความทุกข์-ความสุข ด้วยการรู้เท่าทัน ด้วยสติปัญญา รู้จักค้นหาเหตุผลที่ถูกต้อง รู้จักใช้มัชฌิมาปฏิปทาคือทางสายกลางในการดำรงชีวิต...


    อาเตียเซียนสู เชยพรหมธีระ เคยกล่าวไว้ว่า ความอยากได้ก็เป็นกิเลส ความไม่อยากได้ ก็เป็นกิเลส ความอยากหรือความเบื่อ ก็เป็นกิเลส...เป็น ภวตัณหา และวิภวตัณหา...

    ดังนั้น คำว่า ‘เบื่อโลก’ จึงมีความหมายในทางธรรมว่า ต้องการพ้นทุกข์ พ้นการเวียนว่าย ตายเกิด เป็นความรู้อันเกิดจากปัญญาธรรม ซึ่งแผกกับคำว่าเบื่อโลก เพราะความอยากได้ อยากมี อยากเป็นของตนไม่สามารถเป็นไปดังคิด...

    จึงอยากฝากคำถามไว้ว่า ‘การเบื่อโลกของท่านเกิดจากอะไร?’วิธีหาคำตอบก็คือการรู้จักตั้งคำถามต่อตน...

    ถามว่าทำไมจึง ‘เบื่อ’ ในเมื่อโลกมันเป็นไปของมันอย่างนั้น คนอื่นก็เป็นไปของเขาอย่างนั้น... เบื่อหรือไม่เบื่อ ล้วนเกิดขึ้นในใจของเราเองทั้งนั้น... เราปรุงเอง เราแต่งเองขึ้นมาทั้งสิ้น...

    ฉะนั้น! เวลาดับก็ต้องดับที่ตัวเองเหมือนกัน
    ด้วยเหตุนี้ พระพุทธเจ้าจึงสอนเราให้พิจารณาที่ตัวเอง กำหนดรู้ที่ตัวเอง รู้ให้ลึกลงในจิตของตัวเราเอง เพื่อให้เกิดปัญญาภายในขึ้น

    ปัญญาภายในเท่านั้นจึงแก้ทุกข์ได้...

    ปัญญาธรรมภายในจึงทำให้เข้าใจคำว่า ‘เบื่อโลก’ อย่างถูกต้อง

    ปัญญาธรรมดังกล่าวจึงสามารถแผ้วถางทางสู่ ‘นิพพาน’ ได้อย่างแท้จริง!

    ลงท้ายทุกประการก็ ตรงตามหลักการแห่งไตรสิกขาคือ ศีล...สมาธิ...ปัญญา...ศีลและสมาธิก่อให้เกิดปัญญาในการแก้ทุกข์ทั้งปวง...
     
  8. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,907
    ค่าพลัง:
    +16,490
    16 คำทำนายพระพุทธเจ้า ที่ทรงชี้ชะตามนุษย์โลก (ตอนที่ 1)
    posted on 26 Jan 2008 11:37 by dhammaworld in buddha

    [​IMG]
    1. ทรงฝันว่า มีโคตัวผู้สีเหมือนดอกอัญชัญ 4 ตัวต่างคิดจะชนกัน ก็พากันวิ่งมาสู่ท้องพระลานหลวงจาก 4 ทิศ ฝูงชนต่างรอดู โคทั้งสี่ก็ส่งเสียงคำรามลั่น แต่แล้วต่างก็ถอยออกไปไม่ชนกัน
    -พระพุทธเจ้าได้ทรงทำนายว่า ในอนาคตในชั่วศาสนาของพระองค์ เมื่อโลกหมุนไปถึงจุดที่เสื่อมลง มนุษย์ไม่ตั้งอยู่ในศีลในธรรม ฝนฟ้าจักแล้ง ทุพภิกขภัยจักเกิดขึ้น คล้ายเมฆตั้งเค้าจะมีฝน มีเสียงคำรามกระหึ่ม แต่แล้วก็ไม่ตก กลับเลยหายไป เหมือนโคตั้งท่าจะชนกัน แต่ไม่ชนกันฉะนั้น

    [​IMG]
    2. ทรงฝันว่า ต้นไม้เล็กๆ และกอไผ่ที่โตเพียงคืบบ้าง ศอกบ้างก็ออกดอกออกผลแล้ว
    - พระพุทธองค์ทรงทำนายว่า ต่อไปเมื่อโลกเสื่อม มนุษย์แม้จะมีอายุเยาว์ มีวัยยังไม่สมบูรณ์ก็จะมีราคะกล้า และสมสู่กันตั้งแต่อายุยังน้อย และจะมีลูกแต่เด็กๆ เหมือนต้นไม้เล็กๆ แต่ก็มีผลแล้ว

    [​IMG]
    3. ทรงฝันว่า ทรงเห็นแม่โคใหญ่ๆ พากันดื่มนมของฝูงลูกโคที่เพิ่งเกิด
    - ทรงทำนายว่า ต่อไปในอนาคตการเคารพนบนอบผู้ใหญ่ เช่น พ่อแม่ ครูบาอาจารย์จะเสื่อมถอย คนเฒ่าคนแก่พ่อแม่เมื่อหมดที่พึ่ง หาเลี้ยงตนไม่ได้ ก็ต้องง้อ ต้องประจบเด็กๆ ดังที่แม่โคที่ต้องกินนมลูกโคฉะนั้น

    [​IMG]
    4. ทรงฝันว่าผู้คนไม่ใช้วัวตัวใหญ่ ที่สมบูรณ์แข็งแรงเทียมแอกลากเกวียน กลับไปใช้โครุ่นๆ ที่ยังปราศจากกำลังมาลาก เมื่อมันลากเกวียนให้แล่นไม่ได้ มันก็สลัดแอกนั้นเสีย
    -ทรงทำนายว่า ในภายหน้าเมื่อผู้มีอำนาจไม่ตั้งอยู่ในธรรม แทนที่จะยกย่องและมอบหมายหน้าที่ ให้กับผู้มีสติปัญญา ความรู้ กลับไปมอบยศศักดิ์ให้กับคนหนุ่มที่อ่อนหัด ด้อยประสบการณ์ ทำให้ปฏิบัติหน้าที่ได้ไม่ดี กิจการต่างๆ ก็ไม่สำเร็จ ก็เหมือนใช้โครุ่นมาเทียมแอก เกวียนก็แล่นไม่ได้ฉันใด ก็ฉันนั้น

    [​IMG]
    5. ทรงฝันว่าเห็นม้าตัวหนึ่ง มีปากสองข้าง ฝูงชนก็เอาหญ้าไปป้อนที่ปากทั้งสองข้างมันก็กินทั้งสองข้าง
    - ทรงทำนายว่า ในอนาคตเมื่อผู้บริหาร หรือผู้มีอำนาจไม่ดำรงอยู่ในธรรมตั้งคนพาล หรือคนไม่มีศีลธรรมไว้ในตำแหน่งอันมีผลต่อผู้อื่น คนเหล่านั้นก็จะไม่นึกถึงบาปบุญ คุณโทษ แต่จะตัดสินคดีต่างๆ ตามแต่ใจชอบ โดยเอาสินบนจากทั้งสองฝ่ายเป็นประมาณ ดังม้าที่กินหญ้าทั้งสองปาก

    [​IMG]
    6. ทรงฝันว่าฝูงชนเอาถาดทองราคาแพง ไปให้หมาจิ้งจอกแก่ตัวหนึ่ง พร้อมเชื้อเชิญให้หมาจิ้งจอกตัวนั้น ถ่ายปัสสาวะใส่ถาดทองนั้น
    - ทรงทำนายว่า ต่อไปคนดีมีสกุลทั้งหลายจะสิ้นอำนาจวาสนา คนตระกูลต่ำ หรือคนพาลจะได้เป็นใหญ่เป็นโต และคนมีตระกูล ก็จะต้องยกลูกสาว ให้แก่ผู้ไร้ตระกูลเหล่านั้น เหมือนเอาถาดทองไปให้หมาปัสสาวะรด

    [​IMG]

    7.ทรงฝันว่า มีชายคนหนึ่งนั่งฟั่นเชือก แล้วหย่อนไปในที่ใกล้เท้า แม่หมาจิ้งจอกโซตัวหนึ่ง นอนอยู่ใต้ตั่งที่บุรุษนั้นนั่งอยู่ แล้วก็กัดกินเชือกนั้น โดยที่เขาไม่รู้ตัว
    - ทรงทำนายว่าในกาลข้างหน้า ผู้หญิงจะเหลาะแหละ โลเล ลุ่มหลงในสุรา เอาแต่แต่งตัวเที่ยวเตร่ประพฤติทุศีล แล้วก็จะเอาทรัพย์ที่สามีหาได้ด้วยความลำบากไปใช้ หรือให้ชายชู้เหมือนนางหมาโซที่นอนใต้ตั่ง คอยกัดกินเชือกที่เขาฟั่น และหย่อนลงไว้ใกล้เท้า


    [​IMG]
    8. ทรงฝันว่ามีตุ่มน้ำเต็มเปี่ยมตุ่มหนึ่งวางอยู่ตรงประตูวัง แวดล้อมด้วยตุ่มว่างๆ เป็นอันมาก แต่คนก็ยังไปตักน้ำใส่ตุ่มที่เต็มอยู่ จนล้นแล้วล้นอีก โดยไม่เหลียวแลจะตักใส่ตุ่มที่ว่างๆ นั้นเลย
    -ทรงทำนายว่า ในอนาคต เมื่อศาสนาเสื่อม คนเป็นใหญ่หรือมีอำนาจ จะเบียดเบียนหรือเอาเปรียบผู้ด้อยกว่า คนที่รวยอยู่แล้ว ก็จะมีคนจนหารายได้ ไปส่งเสริมให้รวยยิ่งขึ้น ดังฝูงชนที่ต้องตักน้ำใส่ตุ่มใหญ่ที่เต็มอยู่แล้วจนล้น ส่วนตุ่มที่ว่างอยู่กลับไม่ไปใส่น้ำ
     
  9. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,907
    ค่าพลัง:
    +16,490
    [​IMG]
    <IFRAME style="DISPLAY: none" height=1 border=0 src="http://synad2.nuffnang.co.th/track/beacon/skyscraper/1000227/7499773/dhammaworld.exteen.com%252F20080127%252Fentry" width=1></IFRAME><!-- nuffnang-->
    [​IMG]dhammaworldView my profile

    Previous

    Latest Comments

    Recommend

    Links

    16 คำทำนายพระพุทธเจ้า ที่ทรงชี้ชะตามนุษย์โลก (ตอนจบ)

    posted on 27 Jan 2008 09:15 by dhammaworld in buddha
    [​IMG]
    9. ทรงฝันเห็นสระแห่งหนึ่ง มีบัวนานาชนิดขึ้นอยู่เต็ม และมีท่าขึ้นลงโดยรอบสัตว์ต่างๆ ก็พากันดื่มน้ำในสระ แต่แทนที่น้ำบริเวณที่สัตว์เหยียบย่ำจะขุ่น กลับใสสะอาด ส่วนน้ำที่อยู่ลึกกลางสระที่สัตว์ไม่ไปดื่มหรือ เหยียบย่ำแทนที่จะใส กลับขุ่นข้น
    - ทรงทำนายว่าต่อไป เมื่อคนมีอำนาจไม่ตั้งอยู่ในธรรม ขาดเมตตา คอยใช้อำนาจ รีดนาทาเร้นหรือกินสินบนชาวบ้านชาวเมือง ก็จะหนีไปอยู่ตามชายแดนหรือที่อื่นๆ ทำให้ที่นั้นๆ ที่คนพากันไปอยู่มีความมั่นคงเป็นปึกแผ่น เหมือนน้ำรอบๆ สระที่ใส ส่วนเมืองหลวงกลับว่างเปล่า เหมือนกลางสระที่ขุ่น

    [​IMG]

    10. ทรงฝันว่า เห็นข้าวที่คนหุงในหม้อใบเดียวกัน สุกไม่เท่ากัน โดยแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือข้าวแฉะ ข้าวดิบ และข้าวสุกดี
    -ทรงทำนายว่า ในอนาคต เมื่อคนทั้งหลายไม่อยู่ในศีลในธรรมกันมากขึ้น ก็จะทำให้ฝนฟ้าไม่ตกต้องตามฤดูกาล หรือตกไม่ทั่วถึง ทำให้การเพาะปลูกบางแห่งได้ผล บางแห่งก็ไม่ได้ผล เช่นเดียวกับข้าวที่มีสุกบ้าง ดิบบ้าง และแฉะบ้าง


    11. ทรงฝันว่าคนนำแก่นจันทน์ที่มีราคาแพง ไปแลกกับเปรียงเน่า (อ่านว่า เปฺรียง มี 3ความหมาย คือ 1.นมส้มผสมน้ำแล้วเจียวให้แตกมัน 2.น้ำมันจากไขข้อวัว และ3.เถาวัลย์เปรียง แต่ในที่นี้น่าจะหมายถึงเถาวัลย์เปรียง เทียบกับแก่นจันทน์ที่เป็นไม้เหมือนกันมากกว่า2 ความหมายแรก)
    -ทรงทำนายว่า กาลภายหน้า พระภิกษุอลัชชีเห็นแก่ได้ทั้งหลาย แทนที่จะนำธรรมะ ที่พระพุทธองค์สอน ไปสอนสั่งให้คนหลุดพ้นจากความทุกข์ และละความโลภ กลับใช้เป็นเครื่องมือเพื่อหากิน หาปัจจัยบริจาคเข้าตัวเอง เหมือนเอาแก่นจันทน์ (ธรรมะคำสอนที่ดี) ไปแลกเอาเถาวัลย์เน่า(ลาภอามิสที่ได้รับมา ซึ่งไม่จีรังและไม่ช่วยให้พ้นทุกข์จริงๆ ได้)

    [​IMG]

    12. ทรงฝันเห็นกระโหลกน้ำเต้าจมน้ำได้
    -ทรงทำนายว่า ต่อไปคำพูดของคน ที่ไม่ควรจะ ได้รับความเชื่อถือ กลับจะได้รับความเชื่อถือ โดยเปรียบถ้อยคำของคนที่ไม่น่าเชื่อว่ามีน้ำหนักเบาเหมือนกับผลน้ำเต้า ซึ่งปกติจะลอยน้ำ แต่เมื่อคนเชื่อว่าคำพูดเหล่านั้นมีน้ำหนัก หรือหนักแน่น จึงเปรียบคำพูดนั้น ว่ามีน้ำหนัก ราวกับน้ำเต้าที่จมน้ำได้

    [​IMG]

    13. ทรงฝันว่าศิลาแท่งทึบขนาดเรือน ลอยน้ำได้เหมือนเรือ

    - ทรงทำนายว่า ถ้อยคำของคนที่ควรได้รับการเชื่อถือ ซึ่งหนักแน่น มีน้ำหนักเปรียบประดุจแท่งศิลา กลับไม่ ได้รับความเชื่อถือ หรือกลายเป็นถ้อยคำที่ไม่มีน้ำหนักเหมือน เรือที่ลอยได้ ข้อนี้ตรงกันข้าม กับข้อที่แล้ว คือ คนหันไปเชื่อคำพูดคนที่ไม่ควรเชื่อ เหมือนสิ่งที่ควรลอยกลับจม สิ่งที่ควร จมกลับลอย


    [​IMG]

    14. ทรงฝันว่า ทรงเห็นฝูงเขียดตัวเล็กๆ วิ่งไล่กวดงูเห่าตัวใหญ่ และกัดเนื้องูเห่าขาด
    เหมือนกัดก้านบัว แล้วกลืนกินเข้าไป

    - ทรงทำนายว่า เมื่อมนุษย์ปล่อยตัวปล่อยใจตามกิเลส ราคะ สามีจะตกอยู่ในอำนาจของเมียเด็ก และจะถูกดุด่าว่ากล่าวเช่นเดียวกับคนรับใช้ เหมือนเขียดตัวเล็กๆ แต่กลับกินงูได้


    [​IMG]

    15. ทรงฝันว่า ฝูงพญาหงส์ทอง ที่มีขนเป็นทอง ถูกแวดล้อมด้วยกา
    - ทรงทำนายว่า ในอนาคตผู้มีตระกูลต้องไปเที่ยวประจบ และสวามิภักดิ์ต่อผู้ไม่มีตระกูล เหมือนหงส์ทองแวด ล้อมด้วยกา


    [​IMG]

    16. ทรงฝันว่า ฝูงแกะพากันไล่กวดฝูงเสือเหลือง และกัดกิน ทำให้เสืออื่นๆ สะดุ้งกลัว จนต้องหนีไปแอบซ่อนตัวจากฝูงแกะ
    - ทรงทำนายว่าต่อไปภายหน้า คนชั่ว หรือคนที่ไม่ดี จะเรืองอำนาจ และใช้อำนาจไม่เป็นธรรม ทำให้คนดีถูกทำร้าย หรือไม่ได้รับความเป็นธรรม ต้องหลบหนี ซ่อนตัวจากภัยร้ายเหล่านี้ เหมือนเสือซ่อนตัวจากแกะ



     
  10. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,907
    ค่าพลัง:
    +16,490
    กลอนธรรมะสอนใจคลายยึดตน


    [​IMG]




    ขอพวกเราทั้งหลายจำไว้เถิด
    ว่าการเกิดนี้ลำบากยากนักหนา
    ครั้นคนเราได้กำเนิดเกิดขึ้นมา
    ก็กลับพากันถึงซึ่งความตาย

    (หลวงวิจิตรวาทการ)


    ต้องเวียนเกิดเวียนตายตามบุญบาป
    เมื่อไรทราบธรรมแท้ไม่แปรผัน
    ไม่ต้องเกิดไม่ต้องตายสบายครัน
    มีเท่านั้นใครหาพบจบกันเอย

    (ท่านพุทธทาสภิกขุ)


    กายนี้ท่านเปรียบดั่งท่อนไม้
    ครั้นดับไปสมมติว่าเป็นผี
    เครื่องเปื่อยเน่าสะสมถมปฐพี
    เหมือนกันทั้งผู้ดีและเข็ญใจ

    (เจ้าพระยาคลัง หน)


    อันรูปรสกลิ่นเสียงนั้นเพียงหลอก
    ไม่จริงดอกอวิชชาพาให้หลง
    อย่าลืมนะร่างกายไม่เที่ยงตรง
    ไม่ยืนยงทรงอยู่คู่ฟ้าเอย

    (จากหนังสือเก่าโบราณ)


    กลางทะเลอวกาศที่เวิ้งว้าง
    สรรพสิ่งได้ถูกสร้างแปลงไว้
    จากดินน้ำลมและไฟ
    ก่อเกิดเป็นสิ่งใหม่เรื่อยมา

    เมื่อถึงคราวแตกดับ
    สรรพสิ่งก็หมุนกลับไปหา
    ธรรมชาติเดิมแท้นั้นอีกครา
    เวียนกลับไปกลับมาอยู่อย่างนั้น

    (สมภาร พรหมทา)


    เป็นมนุษย์ หรือ เป็นคน
    • เป็นมนุษย์ เป็นได้ เพราะใจสูง
      เหมือนหนึ่งยูง มีดี ที่แววขน
      ถ้าใจต่ำ เป็นได้ แต่เพียงคน
      ย่อมเสียที ที่ตน ได้เกิดมา
    • ใจสะอาด ใจสว่าง ใจสงบ
      ถ้ามีครบ ควรเรียก มนุสสา
      เพราะทำถูก พูดถูก ทุกเวลา
      เปรมปรีดา คืนวัน ศุขสันติ์จริง
    • ใจสกปรก มืดมัว และร้อนเร่า
      ใครมีเข้า ควรเรียก ว่าผีสิง
      เพราะพูดผิด ทำผิด จิตประวิง
      แต่ในสิ่ง นำตัว กลั้วอบาย
    • คิดดูเถิด ถ้าใคร ไม่อยากตก
      จงรีบยก ใจตน รีบขวนขวาย
      ให้ใจสูง เสียได้ ก่อนตัวตาย
      ก็สมหมาย ที่เกิดมา อย่าเชือน เอยฯ

    นกไม่เห็นฟ้า ปลาไม่เห็นน้ำ
    • หมู่นกจ้อง มองเท่าไร ไม่เห็นฟ้า
      ถึงฝูงปลา ก็ไม่เห็น น้ำเย็นใส
      ไส้เดือนมอง ไม่เห็นดิน ที่กินไป
      หนอนก็ไม่ มองเห็นคูต ที่ดูดกิน;
    • คนทั่วไป ก็ไม่ มองเห็นโลก
      ต้องทุกข์โศก หงุดหงิด อยู่นิจสิน
      ส่วนชาวพุทธ ประยุกต์ธรรม ตามระบิล
      เห็นหมดสิ้น ทุกสิ่ง ตามจริงเอย ฯ
    ความสุข
    • ความเอ๋ย ความสุข
      ใครๆทุก คนชอบเจ้า เฝ้าวิ่งหา
      "แกก็สุข ฉันก็สุข ทุกเวลา"
      แต่ดูหน้า ตาแห้ง ยังแคลงใจ
    • ถ้าเราเผา ตัวตัณหา ก็น่าจะสุข
      ถ้ามันเผา เราก็ "สุก" หรือเกรียมได้
      เขาว่าสุข สุขเน้อ! อย่าเห่อไป
      มันสุขเย็น หรือสุกไหม้ ให้แน่เอย ฯ

    ศึกษากันเท่าไร?
    • โลกยุคนี้ มีศึกษา กันท่าไหน
      ยุวชน รุ่นใหม่ ได้คลุ้มคลั่ง
      บ้างติดยา เสพติด เป็นติดตัง
      บ้างก็ฝัง หัวสุม ลุ่มหลงกาม
    • บ้างดูหมิ่น พ่อแม่ ไม่มีคุณ
      บ้างก็เห็น เรื่องบุญ เป็นเรื่องพล่าม
      บ้างลุ่มหลง love free เป็นดีงาม
      บ้างประณาม ศาสนา ว่าบ้าบอ
    • บ้างไปเป็น ฮิปปี้ มีหลายชนิด
      บ้างทวงอิส- ระพ้น จนเหลือขอ
      บ้างที่มี ดีกรีมาก โฮกฮากพอ
      โลกเราหนอ ให้ศึกษา กันเท่าไร ฯ

    อาจารย์ไก่
    • ถ้าคนเรา เปรียบกับไก่ ดูให้ดี
      มันไม่มี นอนไม่หลับ ไม่ปวดหัว
      ไม่มีโรค ประสาท ประจำตัว
      โรคจิตไม่ มากลั้ว กับไก่น้อย
    • คนในโลก กินยา เป็นตันๆ
      พวกไก่มัน ไม่ต้องกิน สักเท่าก้อย
      หลับสนิท จิตสบาย ร้อยทั้งร้อย
      รู้สึกน้อย แห่งน้ำใจ อายไก่เวย
    • ได้เป็นคน หรือจึงได้ นอนไม่หลับ
      ควรจะนับ ว่าเป็นบาป หรือบุญเหวย
      มีธรรมะ กันเสียนะ อย่าละเลย
      อยู่เสบย ไม่ละอาย แก่ไก่มัน
    ภัยร้ายของนักเรียน

    • เป็นนักเรียน เพียรศึกษา อย่าริรัก
    ถูกศรปัก เรียนไม่ได้ ดั่งใจหมาย
    สมาธิจะ หักเหี้ยน เตียนมลาย
    ถึงเรียนได้ ก็ไม่ดี เพราะผีกวน


    • แต่เตือนกัน สักเท่าไร ก็ไม่เชื่อ
    มันแรงเหลือ รักร้าย หลายกระสวน
    หลอกพ่อแม่ มากมาย หลายกระบวน
    หน้าขาวนวล ใจหยาบดำ ซ้ำละลาย


    • การเล่าเรียน เบื่อหน่าย คล้ายจะบ้า
    ใช้เงินอย่าง เทน้ำเทท่า น่าใจหาย
    ไม่เท่าไร ใจกระด้าง สิ้นยางอาย
    หญิงหรือชาย เรียนไม่ดี สิ่งนี้เอง


    • มีสัจจะ ทมะ และขันตี
    กตัญญู กตเวที อย่าโฉงเฉง
    รักพ่อแม่ พวกพ้อง ต้องยำเกรง
    เรียนให้เก่ง ให้ยิ้มแปล้ แก่ทุกคน ฯ


    ยิ่งเจริญยิ่งบ้า?

    • ถ้าพูดว่า "ยิ่งเจริญ คือยิ่งบ้า"
      ดูจะหา คนเชื่อ ได้ยากยิ่ง
      เพราะต่างชอบ ความเจริญ ที่เกินจริง
      เจริญอย่าง ผีสิง ยิ่งชอบกัน
    • โลกเจริญ เกินขนาด ธรรมชาติแหลก
      เกิดของแปลก แปลงโลก ให้โศกศัลย์
      ทำมนุษย์ ให้เป็นสัตว์ พิเศษพลัน
      คือฆ่ากัน ทั้งบนดิน และใต้ดิน
    • ยิ่งเจริญ ยิ่งดุเดือด ด้วยเลือดอาบ
      ยิ่งฉลาด ยิ่งมีบาป กว่ายุคหิน
      สร้างปัญหา ยุ่งยาก มากระบิล
      โลกทั้งสิ้น สุมความบ้า ว่าความเจริญ ฯ

    โลกคือเครื่องลองและโรงละคร
    • โลกนี้คือ เครื่องลอง ของมารร้าย
      ไว้สอบไล่ ว่าใคร ยังหลงใหล
      ว่าใครบ้า ใครเขลา เฝ้าจมใน
      หล่มโลกใหญ่ ติดตัง ทั้งชั่วดี!
    • โลกนี้ ที่แท้คือ โรงละคร
      ไม่ต้องสอน แสดงถูก ทุกวิถี
      ออกโรงกัน จริงจัง ทั้งตาปี
      ตามท่วงที อวิชชา ลากพาไป!

    โลกเปรียบศาลาให้อาศัย
    • โลกนี้เปรียบ ศาลา ให้อาศัย
      ประเดี๋ยวใจ ผ่อนพัก แล้วจักผัน
      ทางที่ดี เมื่อพราก ไปจากมัน
      ควรสร้างสรร ส่งเสริม เพิ่มคะแนน
    • เมื่อเราได้ เกิดมา ในอาโลก
      ได้พ้นโศก พ้นภัย สบายแสน
      จึงควรสร้าง สิ่งชอบ ไว้ตอบแทน
      ให้เป็นแดน ดื่มสุข ขึ้นทุกกาล
    • คุณความดี ของท่าน กาลก่อนก่อน
      ที่ท่านสอน ไว้ประจักษ์ เป็นหลักฐาน
      เราเกิดมา อาศัย ได้สำราญ
      ควรหรือผ่าน พ้นไป ไม่คำนึง ฯ

    โลกนี้พัฒนา
    • โลกฮึดฮัด พัฒนา บูชาโป๊
      เพราะเผลอโง่ ทีละนิด คิดไม่เห็น
      ไม่มีใคร ตำหนิใคร เพราะใจเป็น
      ในเชิงเช่น เดียวกัน ไม่ทันรู้
    • รัฐบาลไหน ในโลก สับโขกมัน
      ดูจะชอบ เหมือนกัน ทำไก๋อยู่
      พวกนักบวช แอบหา ภาพมาดู
      คุณครูรู้ พรางศิลปโป๊ โย้ได้ไกล
    • ความก้าวหน้า ทางเนื้อหนัง อย่างนี้เอง
      ครั้นพัฒนา จบเพลง ไม่ไปไหน
      บูชาโป๊ ถึงทูนหัว มั่วกันไป
      โลกยุคใหม่ ต้องไม่โง่ หยุดโป๊ที ฯ
    ความรักของอวิชชา
    • มีชายหนึ่ง ลิงหนึ่ง อยู่ด้วยกัน
      คนก็รัก ลิงนั้น เป็นหนักหนา
      ลิงก็รัก คนจัด เต็มอัตรา
      ทั้งสองรา รักกัน นั้นเกินดู
    • มาวันหนึ่ง คนนั้น นอนหลับไป
      แมลงวัน มาไต่ ที่กกหู
      ลิงคิดว่า ไอ้นี่ยวน กวนเพื่อนกู
      จะต้องบู๊ ให้มันตาย อ้ายอัปรีย์
    • ฉวยดุ้นไม้ มาเงื้อ ขึ้นสองมือ
      ฟาดลงไป เต็มตื้อ แมลงวันหนี
      ฝ่ายเพื่อนรัก ดิ้นชัก ไปหลายที
      ดูเถิดนี่ ความรัก ของอวิชชา ฯ
     
  11. Kama-Manas

    Kama-Manas เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    5,351
    ค่าพลัง:
    +6,491
    โห..อะไรกันเนี่ย? สุดยอดๆๆ..(ชอบทุกข้อความเลยจร๊าา เอ..อ่านแล้วชักคุ้นๆอยู่นา..(ยิ้ม)

    ปล.โมทนาคำโตจร๊าา..
     
  12. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,907
    ค่าพลัง:
    +16,490
    (k):cool: ค่อย ๆ ไล่อ่านไปนะ น้อง isaa ความรู้ทั้งน้าน....
     
  13. Kama-Manas

    Kama-Manas เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    5,351
    ค่าพลัง:
    +6,491
    ป้าใจ.เอ่อ..คือ..555+ ป้าใจไม่รู้สึกอะไรเลยเหรอ? (เรื่องจิตเกาะพระน่ะ..อิอิ) คือว่า..ดิฉันเซ็งค่ะ คนที่ไม่เข้าใจธรรมชาติของศิษย์ จะเป็นครูได้อย่างไร? (ไม่ได้หมายถึงป้าใจค่ะ)

    ปล. ปล่อยไปเถอะค่ะ ขี้เกียจอธิบาย ใครจะมองอย่างไร สุดแต่ใจจะไขว่คว้า (ยิ้ม) รักป้าใจนะ รักแบบไม่รู้จัก แต่ก็รักได้ สัมผัสความดีในจิตของป้าน่ะจ๊ะ..จุ๊บๆ

    ต้องค่อยๆเข้ามาอ่านจร๊าา.. เยอะมากๆ (ชอบมากค่ะ คล้ายๆครูคนเก่าดิฉันเลยจ๊ะ..)
     
  14. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,907
    ค่าพลัง:
    +16,490
    น้อง isaa คะ เราต้องฝึกมองคนในแง่ดีไว้ จะทำให้จิตใจเราไม่ขุ่นมัวนะคะ
    ชีวิตที่เราผจญอยูู่ทางโลกปัจจุบันนี้โหดร้ายอยูู่แล้ว เราอย่าไปคาดหวังกับผู้อื่นก่อน
    เหมือนคำคมที่ว่า อย่าคิดว่าโลกจะให้อะไรเรา แต่เราควรจะเป็นฝ่ายให้โลกก่อนก็ดีไหมคะ

    ขอบคุณที่ชมจิตป้าใจ จิตเกาะพระ ครูอาจจะดุ แต่จริง ๆ แล้วเจตนาของครูไหวใจร้าย
    ก็เพื่อเคาะกิเลสหนาตราช้างของเราออกก่อน ฝึกความอดทนอันดับแรก หากเรายังยินดีกอด
    รัก โลภ โกธร หลง ก็มิเป็นไรหรอกค่ะ
    (แร้ง ๆ ๆ ตามประสาวัยรุ่น ม่ะโกธรนิ...)

    จุดประสงค์ของการฝึกจิต ก็เพื่อยกจิตเราให็สูงขึ้น
    มีศีลห้าให้ครบ ฝึกละอายเกรงกลัวต่อบาป
    ฝึกให้อภัยมีเมตตาต่อตนเองและผู้อื่น
    ฝึกลดละโทสะจริต ก้าวหาธรรมชาติของจิต
    ให้รู้ว่าทุกสิ่งทุกอย่างที่เราสัมผัสอยู่ในชีวิตประจำวัน
    เกิดขึ้น ตั้งมั่นอยู่ แล้วก็ดับไป ไม่เว้นแม้แต่ตัวเรา
    รู้ทุกสิ่งทุกอย่างแล้วปล่อยวางให้ได้

    ให้เรียนรุ้ว่า ทุกสิ่งทุกอย่าง(ขันธ์ 5)
    ถ้าไปยึดไปถือไว้ แบกไว้ มันเป็นภาระ มันหนักยิ่งนัก
    ผู้ใดรู้ตัว จงปลด จงปล่อย ทิ้งเถิดขันธ์ 5 ทั้งหลายอย่าได้อาลัยอาวรณ์อีกเลย
    พระพุุทธองค์สมเด็จพ่อตรัสไว้เป็อกาลิโก ธรรมนี้จะยิ่งใหญ่ไพศาลไปตลอดกาล


    ปล.พยายามจิ้มดีดจากแอนดรอยด์ พิมพ์ยากจริงนิ...
     
    แก้ไขครั้งล่าสุดโดยผู้ดูแล: 10 ตุลาคม 2012
  15. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,907
    ค่าพลัง:
    +16,490
    Sent at 5:11 PM on Sunday
    me: นึกถึงพระ อธิษฐานขอพรพระ หมั่นฝึกดู

    อารมณ์กับสิ่งต่าง ๆ ที่มากระทบทางหู ตา จมูก ลิ้น

    กาย ใจ แล้วพิจารณาเรื่องความไม่เที่ยงใช่ไหมคะ

    Sent at 5:13 PM on Sunday
    natthapat​pun@gmail​.com: ใช่ค่ะ เก่งมากเลย
    me: ดีใจจังที่ตีความหมายถูก จะได้ปฏิบัติให้ถูก

    ทางนะคะ
    natthapat​pun@gmail​.com: ทำดีแล้วค่ะ ทำต่อไปนะ

    คะ สงสัยอะไรเกี่ยวกับจิตเกาะพระก็ถามครู ครูยินดี

    ช่วยเหลือทุกท่านค่ะ

     
  16. Kama-Manas

    Kama-Manas เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    2 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    5,351
    ค่าพลัง:
    +6,491
    สาธุ.ยามเช้าๆ.จร๊าาา..(ไม่อธิบายหรือชี้แจง แล้วแต่มุมมองของป้าใจจ๊ะ)

    ปล..ดิฉันไม่ได้มองใครในแง่ร้าย แต่มองในแง่ของความเป็นจริง.และไม่เคยคาดหวังอะไรจากโลกใบนี้.นอกจากอยากคืนทุกอย่างที่มีให้แม่โลกจร๊าาา.
    ..วันนี้อากาศแจ่มใส หัวใจเป็นสุข ทุกอย่างคือธรรมะ..(ยิ้ม)
     
  17. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,907
    ค่าพลัง:
    +16,490

    ยิ้มก็ยิ้มจ๊ะ..น้อง isaa
     
  18. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,907
    ค่าพลัง:
    +16,490
    การบ้านฉบับสุดท้ายจิตบุญ92 (คุณดาว)<!-- google_ad_section_end -->
    <HR style="COLOR: #ffffff; BACKGROUND-COLOR: #ffffff" SIZE=1><!-- google_ad_section_start -->สวัสดีค่ะพี่แนท

    ส่งการบ้านเทียบเคียงอารมณ์จิต ณ ปัจจุบัน กับ สังโยชน์ 10 ประการ ของดาวนะค่ะ

    1.สักกายทิฏฐิ : เห็นชัดอย่างแจ่มแจ้งว่าร่างกายนี้หรือขันธ์ 5 นี้มันไม่ใช่ของของเรา ไม่เห็นว่าจะควบคุมมันได้อย่างแท้จริงซะที มันแปรเปลี่ยนสภาพไปตามธรรมชาติ ตามกาลเวลา สุดท้ายไม่มีอะไรเหลืออยู่เลย มีแต่เพียงความว่างเปล่า แถมมันยังเป็นก้อนทุกข์ ความเกิด แก่ เจ็บ ตาย มันทุกข์หลายๆ มันมาพร้อมขันธ์ 5 ไม่มีขันธ์ 5 เป็นดีที่สุด มีแล้วมันทุกข์ หิวก็ทุกข์ อิ่มแล้วก็หิวใหม่อีก ขับถ่ายก็ทุกข์ กินแล้วก็ต้องถ่ายออกอีก....รบกวนเรา(จิต)ตลอด มีขันธ์ 5 มันเหมือนเรากำลังติดคุก(ชีวิต) รู้สึกเลยว่าตัวเองเหมือนถูกหลอกมาตลอดชีวิต โง่มาตลอด ถูกหลอกให้อยู่ในโลกสมมุติ ทุกอย่างมีแต่สมมุติ มันไม่มีอะไรอยู่จริง มันคือความว่างเปล่า มีขันธ์ 5 ก็คือมีทุกข์ ถูกกิเลส รัก โลภ โกรธ หลง ครอบงำมาตลอด นั่นเป็นสาเหตุของความทุกข์ โกรธ 1ครั้ง ก็เกิดมีภพมีชาติขึ้น 1ครั้ง ครั้งเดียวก็ทุกข์แล้ว,เหมือนอุจาระ นิดเดียวมันก็เหม็น เหมือนตัวเองกำลังติดคุก วิถีทางที่จะพ้นจากความทุกข์ ออกไปจากคุก(ชีวิต)นี้ได้ เราต้องหลุดพ้นจากวัฏฏะสงสาร(ตัวนี้คือคุกใหญ่ที่ครอบคุกชีวิตไว้อีกชั้นนึง)....ตอนนี้รู้แล้วว่าต้องไปพระนิพพานอย่างเดียว ไปเป็นเทวดา นางฟ้า หรือพรหม....ก็ไม่เอา ชาตินี้ขอเป็นชาติสุดท้าย ทุกสรรพสิ่งบนโลกนี้มันเป็นอยู่ของมันอย่างนั้นจริงๆรวมทั้งตัวเราเองด้วย มันคืออนัตตา... มันคือความว่างเปล่า...อย่าไปยึดติดกับขันธ์ 5 เลย ถ้ายึดนั่นคือ..โง่ ไปยึดก้อนทุกข์

    2.วิจิกิจฉา : ไม่มีความสงสัยในคำสั่งสอนขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้าเลยแม้แต่นิดเดียว มีแต่ความซาบซึ้งในพระมหากรุณาธิคุณ ซาบซึ้งในพระเมตตา พระบารมี ท่านทรงเหนื่อยยากขนาดไหน เราไม่อาจรู้ได้ ท่านบากบั่น พากเพียรพยายาม อดทน อดกลั้น ยอมเหน็ดเหนื่อย ยอมต่อสู้กับอุปสรรคนานับประการ สละทุกสิ่งทุกอย่าง เพื่อให้ได้มาซึ่งหนทางแห่งการดับทุกข์(อย่างถาวร) แม้ท่านจะปรินิพพานไปนานแล้ว ยังทรงทิ้งคำสั่งสอนไว้ให้ลูกหลานได้นำไปปฏิบัติตามจนถึงความดับทุกข์ได้ เปรียบได้ว่าท่านทรงพากเพียรพยายามปลูกต้นไม้ใหญ่ให้ออกลูกออกผล ไว้ให้ลูกหลานได้เก็บกิน พวกเราเพียงแค่เดินไปที่ต้นไม้นั้นและเก็บผลกินได้เลย เราไม่ได้ออกแรงช่วยท่านปลูกสักนิด แค่ทางที่จะเดินไปเก็บผลไม้นั้นก็ช่างเหนื่อยยากเหลือเกิน คิดดูเอาเองเถอะค่ะว่าท่านเหนื่อยเพื่อพวกเราขนาดไหน _/|\_

    3.สีลัพพตปรามาส : สติสัมปชัญญะที่เกิดจากการปฏิบัติกรรมฐาน "จิตเกาะพระ" ที่ทำอยู่ ณ ปัจจุบันนี้เป็นเครื่องมือประหารกิเลสได้เป็นอย่างดีจริงๆค่ะ จากเมื่อก่อนการรักษาศีลจะเกิดจากเราต้องระวังไม่ให้เกิด ไม่มีสติคอยหนุนก็พลาดได้ง่ายๆ ณ เวลานี้กลับกลายเป็นศีลอัตโนมัติ มาพร้อมกันทุกอย่าง ทั้ง ศีล สมาธิ และปัญญา

    4.กามฉันทะ : ตัวเราที่ยังหายใจอยู่ พูดได้อยู่ มันก็ไม่แตกต่างอะไรกับซากศพที่ตายแล้ว เพราะร่างกายเราก็เหม็นเน่าทุกวันต้องชำระล้าง อาบน้ำ ล้างหน้า แปรงฟัน ล้างเอาความเน่าเหม็นออกต้องสระผมเกือบทุกวัน ไม่ว่าเขาหรือเราไม่ว่าใครๆก็ตามทุกคนเป็นศพที่พูดได้ เดินได้ พอจิตออกจากร่างกายเราไปเรียกว่าศพที่ตายแล้วเท่านั้นเอง ทุกอย่างมันคือสมมุติ อย่าไปยึดติดอยู่กับสิ่งสมมุตินี้อีกเลย อีกอย่างคืออีกไม่นานเราจะต้องตายเป็นซากศพเหมือนๆกัน ต้องรีบเร่งความเพียรต้องไปพระนิพพานให้ได้ อย่ากลับมาเวียนว่ายตายเกิดจมอยู่กับกองทุกข์กองเหม็นอีกเลย

    5.ปฏิฆะ : ทุกชีวิตบนโลกนี้ล้วนแล้วแต่พากันแบกก้อนทุกข์ไว้กันทั้งนั้น อย่าไปโกรธ เกลียด ชิงชัง ใครเขาเลย เขาก็ทุกข์ เราก็ทุกข์ ต่างคนต่างต่อสู้กับความทุกข์ สงสารและเมตตาเพื่อนร่วมโลกจะดีกว่า อย่างน้อยเราก็ไม่ไปเพิ่มทุกข์ให้ใครเขาอีกนะค่ะ โดยเฉพาะความโกรธเนี่ย ถามตัวเองว่า พอโกรธแล้วทุกข์มั้ย....คำตอบคือทุกข์....ทุกข์แล้วยึดไว้ทำไม....ปล่อยวางมันไปซะให้หมด อบรมจิตไว้ว่า โกรธ 1 ครั้ง....เธอไปนรก 1 ครั้ง โอ้ย!! ตอนนี้จิตนี้มันไม่ต้องการนรกแล้วค่ะ

    6.รูปฌาน : ไม่ยึดติดค่ะ เพราะเป้าหมายชัดเจนว่าต้องเป็นพระนิพพานเท่านั้น เมื่อเรารู้และเข้าใจแล้วว่าสิ่งสำคัญสูงสุดคือพระนิพพาน ก็ให้มองผ่านสิ่งอื่นๆไป มองผ่านไปอย่างเดียวพอแล้วค่ะ เห็นแล้วก็วางไว้ซะตรงนั้นแล่ะ ไม่ต้องไปแวะหาความสนุก

    7.อรูปฌาน : ไม่ยึดติดค่ะ ส่วนคำอธิบายได้ให้ไว้แล้วในข้อ 1, 3,4 และ 5

    8.มานะ : ร่างกายนี้คือถุงขี้ และถุงทุกข์ที่มาจาก ดิน น้ำ ไฟ ลม ทุกชีวิตก็เหมือนๆกัน ไม่มีคนไทย ไม่มีฝรั่ง ไม่มีเรา ไม่มีเขา ไม่มีตัวตน ร่างกายนี้ก็ไม่ใช่ของเรา ไม่คิดที่จะไปเบียดเบียนใครทั้งสิ้นเพราะต่างคนก็ต่างแบกถุงทุกข์กันอยู่ นั่นก็ทุกข์กันเกินพอแล้ว การถือตัวถือตนก็เป็นเหตุของความทุกข์ จิตใจเราพร้อมในการเมตตาปราณี ไม่ถือตน เขาจะมีฐานะเช่นใดก็ช่าง ถือว่า เป็นเพื่อนเกิด แก่ เจ็บ ตาย เหมือนกันหมด ความอิจฉาริษยายิ่งไม่ต้องพูดถึง...ไม่หลงเหลือในจิตดวงนี้อีกแล้ว เห็นอกเห็นใจเพื่อนร่วมโลกมากขึ้นและไม่ต้องการไปเพิ่มทุกข์ให้ใครๆ มีโอกาสช่วยเหลือเกื้อกูลใครได้ก็ทำทันที....ไม่เห็นแก่ตัว

    9.อุทธัจจะ : อันนี้ก็ให้คำตอบไว้ในข้อ 1 แล้วค่ะ คือ เราทุกคนถูกหลอกให้อยู่ในโลกสมมุติ ทุกอย่างมีแต่สมมุติ มันไม่มีอะไรอยู่จริง มันคือความว่างเปล่า มีขันธ์ 5 ก็คือมีทุกข์ ถูกกิเลส รัก โลภ โกรธ หลง ครอบงำมาตลอด นั่นเป็นสาเหตุของความทุกข์ โกรธ 1ครั้ง ก็เกิดมีภพมีชาติขึ้น 1ครั้ง (ครั้งเดียวก็ทุกข์แล้ว,เหมือนอุจาระ นิดเดียวมันก็เหม็น) เหมือนตัวเองกำลังติดคุก ต้องหาทางออกไปจากคุก(ชีวิต)นี้ให้ได้ เราต้องหลุดพ้นจากวัฏฏะสงสาร (ตัวนี้คือคุกใหญ่ที่ครอบคุกชีวิตไว้อีกชั้นนึง)....ตอนนี้รู้แล้วว่าต้องไปพระนิพพานอย่างเดียว ไปเป็นเทวดา นางฟ้า หรือพรหม....ก็ไม่เอา ชาตินี้ขอเป็นชาติสุดท้ายแล้วค่ะ

    10.อวิชชา : ไม่ตกหลุมพลางของโลกสมมุติอีกต่อไป ปล่อยวางทุกสิ่งทุกอย่างลงซะ ให้มันเป็นไปตามกฎเกณฑ์ของธรรมชาติ สุดท้ายแล้วทุกสิ่งทุกอย่างก็ต้องจบลงที่กฎไตรลักษณ์ คือ อนิจจัง ทุกขัง อนัตตา จบลงที่ความว่างเปล่า ถึงจะได้พบกับความสงบสุขที่แท้จริง แม้แต่ธรรมะของพระพุทธเจ้านั้นเป็นเพียงข้อปฏิบัติ เป็นทางเดินมรรค เราต้องเดินอยู่ตรงกลางเท่านั้น ส่วน 2 ข้างทางนั้นมันคือสุขและทุกข์ ให้เดินมองมันไปเฉยๆสุขก็เห็น ทุกข์ก็เห็น แต่เราไม่ปรารถนาอะไร แล้วให้ผ่านมันไปอย่างเดียว เราต้องการความสงบอย่างเดียว อย่าได้แวะเชียวนะ ถ้าแวะมันจะเป็นทุกข์หลายๆ หายสงสัยเสีย ปล่อยวางมันเสีย แม้กระทั่งข้อธรรมะปฏิบัติก็ต้องปล่อยวางไปซะอย่าแบกไปด้วย...มรรคผลถึงจะเกิด ปล่อยวางทุกอย่างลงได้แล้วก็ โล่ง โปร่ง สบายแล้วค่ะ

    ส่งการบ้านเท่านี้นะค่ะพี่แนท วันนี้ส่งเร็วหน่อยหลังเลิกงานดาวมีธุระข้างนอกกับสามีน่ะค่ะ...
    คิดถึงพี่แนทนะค่ะ ^_^

    ดาวค่ะ<!-- google_ad_section_end -->
    __________________
    <!-- google_ad_section_start(weight=ignore) -->ความว่าง ก็คือ ความว่าง<!-- google_ad_section_end -->
     
  19. ppojai

    ppojai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 กันยายน 2005
    โพสต์:
    4,637
    ค่าพลัง:
    +9,971
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=HwjUfac0etk]Live and Learn กมลา สุโกศล - YouTube[/ame]​
     
  20. pporjai

    pporjai เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 มีนาคม 2006
    โพสต์:
    8,907
    ค่าพลัง:
    +16,490
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=SD2stEcl8nY]พอใจ-พอใจ - จีวันBAND - YouTube[/ame]

    พอใจ พอใจ หลวงตาพูดไว้ทุกวัน ๆ​


    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=sibEEkSaN8Y]หยดน้ำบนใบบัว - จีวันBAND - YouTube[/ame]
     

แชร์หน้านี้

Loading...