ลำนำเพลงรักของนักกลอน

ในห้อง 'จักรวาลคู่ขนาน' ตั้งกระทู้โดย ติงติง, 8 กุมภาพันธ์ 2012.

  1. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    กลอนธรรมะนี้ล้ำค่าจริงหนอท่านจิโป
    ท่านกวีเอกในวันนี้:cool:
     
  2. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    ความสุข คืออะไร

    ความสุข คืออะไร ความสุข เป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถนา
    และพากันแสวงหา ด้วยวิธีการต่าง ๆ
    ตามแต่ระดับของสติและปัญญา ที่จะอำนวยให้ได้
    แต่ถ้าระดับของสติและปัญญาอ่<WBR style="WIDOWS: 2; TEXT-TRANSFORM: none; BACKGROUND-COLOR: rgb(255,255,255); TEXT-INDENT: 0px; LETTER-SPACING: normal; FONT: 14px arial, sans-serif; WHITE-SPACE: normal; ORPHANS: 2; COLOR: rgb(34,34,34); WORD-SPACING: 0px; -webkit-text-size-adjust: auto; -webkit-text-stroke-width: 0px">อนลงมากเท่าไร
    การแสวงหาความสุขนั้นๆ
    ก็ย่อมจะพาเอาความทุกข์ พ่วงเข้ามาด้วยมากเข้าเท่านั้น


    ความหมายของความสุข คือ ความสบาย หรือ ความสำราญ
    เป็นสิ่งที่ทุกคนปรารถนา และพากันแสวงหาตามแต่สติและปั<WBR>ญญา
    ด้วยวิธีการต่าง ๆ แยกออกได้เป็นสองฝ่าย
    คือ ความสุขทางกาย กับความสุขทางใจ



    ความหมายของความสุขทางกาย ได้แก่
    ความสุขที่สัมผัสได้จากประสาททั<WBR>้ง 5
    คือ รูป เสียง กลิ่น รส และผิวหนัง
    เรียกว่า "กามคุณ 5"
    หรือความสุขที่เกิดจากเนื้อหนั<WBR>งมังสา อันเป็นสิ่งสกปรก



    ความหมายของความสุขทางใจ ได้แก่
    ความสุขที่สัมผัสได้จากจิต คือ ความสบายใจ
    ความสุขใจ ความอิ่มใจ ความพอใจ
    อันเกิดจากจิตใจที่สงบและเย็น
    อันเป็นความสุขที่สะอาดเป็น ความสุขที่แท้จริง



    ความสุขทั้งทางกายและทางใจ ย่อมมีส่วนสัมพันธ์กัน
    ไม่อาจจะแยกให้ขาดจากกันได้
    เพราะต่างก็ต้องพึ่งพาอาศัยกั<WBR style="WIDOWS: 2; TEXT-TRANSFORM: none; BACKGROUND-COLOR: rgb(255,255,255); TEXT-INDENT: 0px; LETTER-SPACING: normal; FONT: 14px arial, sans-serif; WHITE-SPACE: normal; ORPHANS: 2; COLOR: rgb(34,34,34); WORD-SPACING: 0px; -webkit-text-size-adjust: auto; -webkit-text-stroke-width: 0px">นและกัน
    จะขาดเสียอย่างใดอย่างหนึ่<WBR style="WIDOWS: 2; TEXT-TRANSFORM: none; BACKGROUND-COLOR: rgb(255,255,255); TEXT-INDENT: 0px; LETTER-SPACING: normal; FONT: 14px arial, sans-serif; WHITE-SPACE: normal; ORPHANS: 2; COLOR: rgb(34,34,34); WORD-SPACING: 0px; -webkit-text-size-adjust: auto; -webkit-text-stroke-width: 0px">งหาได้ไม่


    ในความสุขทั้งสองฝ่ายนี้
    ความสุขทางใจ นับว่าเป็น "ยอดแห่งความสุข"
    ถ้าเรากระทำสิ่งใดแล้วจิตใจไม่<WBR>มีความสุข
    แม้ว่าเราจะมีวัตถุมากมายครบถ้<WBR>วน
    คอยอำนวยความสุขทุกรูปแบบ
    ก็หาได้ก่อให้เกิดความสุขที่<WBR>สมบูรณ์หรือแท้จริงไม่


    แต่ในทางตรงกันข้าม แม้ว่าทางร่างกายจะขาดแคลนวัตถุ
    ที่จะอำนวยความสุข แต่ถ้าจิตใจมันมีปีติหล่อเลี้ยง
    มีความพอใจ มีความสงบใจ คนก็ย่อมจะประสบความสุขได้



    ในคำสอนของพระพุทธเจ้า
    ที่ทรงพร่ำสอนพระ ทรงย้ำให้พระมีชีวิตอยู่อย่าง
    "สันโดษ" และ "มักน้อย" ให้มีอาหารหรือปัจจัย 4 หล่อเลี้ยงชีวิต
    เหมือนน้ำมันหยอดเพลาเกวียนเท่<WBR>านั้น!


    จากพุทธปฏิปทานี้ ชาวบ้านผู้ครองเรือน
    ก็สามารถประยุกต์เอามาใช้ให้เกิ<WBR>ดประโยชน์ได้
    นั่นคือ อย่าให้ตึงจนถึงเดือดร้อน และอย่าให้หย่อนจนตัวเป็นขน


    หลักมัชฌิมาปฏิปทา คือ ทางสายกลาง ไม่ตึงไม่หย่อน
    จึงเป็นแนวทางที่ควรนำมาดำเนิ<WBR>นชีวิต
    เพื่อให้เกิดความสุขในชีวิ<WBR>ตประจำวันได้อย่างดีเยี่ยม
    ถ้าใช้เป็นและใช้ให้ถูกต้องกั<WBR>บกาลเทศะ บุคคลและอัตภาพของตน


    สรุปว่า ความสุขก็คือความสบายกาย และสบายใจ ในสองอย่างนี้
    ความสุขใจ นับว่าเป็นยอดแห่งความสุขในโลก
    และทุกคนก็สามารถที่จะบรรลุ<WBR>ความสุขใจนี้ได้
    หากปฏิบัติตามหลัก "มัชฌิมาปฏิปทา" คือ ทางสายกลาง
    ไม่ตึงไม่หย่อนเกินไป จึงเป็นแนวทางที่ควรนำมาดำเนิ<WBR>นชีวิต
    เพื่อให้เกิดความสุขในชีวิ<WBR>ตประจำวันได้อย่างดีเยี่ยม


    พระเทพคุณาภรณ์ (โสภณ โสภณจิตฺโต ป.ธ. ๙)
    เจ้าอาวาสวัดเทวราชกุญชร วรวิหาร
    watdevaraj@hotmail.com

    ที่มา...หนังสือพิมพ์ข่าวสด
     
  3. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    เชือกผูกลิง (หลวงพ่อสนอง กตปุญฺโญ วัดสังฆทาน นนทบุรี)

    <HR style="WIDOWS: 2; TEXT-TRANSFORM: none; BACKGROUND-COLOR: rgb(255,255,255); TEXT-INDENT: 0px; LETTER-SPACING: normal; FONT: 14px arial, sans-serif; WHITE-SPACE: normal; ORPHANS: 2; COLOR: rgb(255,255,255); WORD-SPACING: 0px; -webkit-text-size-adjust: auto; -webkit-text-stroke-width: 0px" SIZE=1><INS style="BORDER-BOTTOM: medium none; BORDER-LEFT: medium none; PADDING-BOTTOM: 0px; WIDOWS: 2; TEXT-TRANSFORM: none; BACKGROUND-COLOR: rgb(255,255,255); TEXT-INDENT: 0px; MARGIN: 0px; MIN-HEIGHT: 280px; PADDING-LEFT: 0px; WIDTH: 336px; LETTER-SPACING: normal; PADDING-RIGHT: 0px; DISPLAY: inline-table; FONT: 14px arial, sans-serif; WHITE-SPACE: normal; ORPHANS: 2; COLOR: rgb(34,34,34); BORDER-TOP: medium none; BORDER-RIGHT: medium none; WORD-SPACING: 0px; PADDING-TOP: 0px; -webkit-text-size-adjust: auto; -webkit-text-stroke-width: 0px"></INS>[​IMG]




    ใจคนเราเหมือนปรอท ใจคนเราเหมือนลิง เหมือนลิงที่มันดิ้นอยู่<WBR>ตลอดเวลา ดึงเอาไว้อยู่เป็นที่ เดี๋ยวมันก็ไปอีก ดึงเอาไว้ เดี๋ยวมันก็กลับไปอีก เราต้องพยายามดึงพยายามรั้ง พยายามควบคุมใจเราบ่อย ๆ ถ้าไม่อย่างนั้นแล้วมันก็ไม่อยู<WBR>่ มันก็เที่ยวคิดไปตามอารมณ์ตั<WBR>วเอง นึกอะไรได้มันก็ไปอันนั้นแหละ มันไม่มีอะไรเป็นเครื่องห้<WBR>ามเครื่องผูก เราต้องมีเครื่องผูกใจคือ ภาวนา

    ภาวนาเป็นเครื่องผูกใจนั่นเอง ภาวนาทำให้เกิดสติ สติเป็นหลัก สมาธิทำให้จิตใจนิ่งเฉยได้ ไม่ลุกลี้ลุกลน ไม่ปรุงแต่งอะไรมาก ก็ไม่ต่างอะไรกับเราเอาเชื<WBR>อกไปผูกติดกับหลัก แล้วก็มาผูกติดกับลิง ลิงมันจะดิ้นรนไปแค่ไหนก็อยู่<WBR>ในขอบเขตของมัน คือ เชือกติด ถ้ามันดิ้นไปมาก ๆ เข้า มันก็ย้อนกลับมาที่เดิม มันก็มีโอกาสจะหยุดนิ่งได้ในเมื<WBR>่อมันเหนื่อยเต็มที่ เราก็ตามดูใจเราเหมือนเราตามดู<WBR>ลิงนั่นเอง เราไม่ต้องไปเป็นลิงกับเขา เพียงแต่เรานั่งดูลิงดิ้นไปดิ้<WBR>นมา นั่งอยู่เฉย ๆ ไม่ต้องไปดิ้นตามมัน ถ้าเราไปดิ้นตามมัน เราก็เป็นลิงไม่หยุดเลย เหนื่อยตายเลย

    การทำสมาธิก็เหมือนคนนั่งดูลิ<WBR>งนั่นเอง ดูไปดูมา เดี๋ยวลิงมันดิ้นไปดิ้นมาจนเชื<WBR>อกมันดึงวนไปจนเชือกพัน ผลที่สุดมันก็หยุดดิ้น มันก็นั่งเงียบของมันได้ ลิงก็รู้จักหยุดเหมือนกันในเมื่<WBR>อเชือกมันตึงเชือกมันรัดตัวมัน ใจเราก็เหมือนกัน เราก็คอยภาวนาดูใจเราเหมือนดูลิ<WBR>งนั่นเอง แต่เราจะทำเป็นลิงไม่ได้ ถ้าทำเป็นลิงคือสร้างความนึกคิ<WBR>ดไปด้วย ภาวนาแล้วเหนื่อยมาก ใจไม่หยุดไม่หย่อนเลย เราก็ต้องควบคุมอยู่ที่หลักคื<WBR>อสติ สมาธิเกาะนิ่งไว้ที่กายกับใจ มันก็สงบจนได้ ไปไหนๆ มันก็กลับมา ไปไหน ๆ เดี๋ยวมันก็กลับมา เรารู้เท่าทันความคิดแล้วมันก็<WBR>กลับมาอยู่ที่เดิม มันก็สอบได้ในใจเรา

    ที่มา
    แสดงกระทู้ - เชือกผูกลิง (หลวงพ่อสนอง กตปุญฺโญ วัดสังฆทาน นนทบุรี) • ลานธรรมจักร


     
  4. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    "เราต้องรู้จักรักและเมตตาตั<WBR>วเองก่อน" โดยพระอาจารย์มิตซูโอะ คเวสโก




    [​IMG]

    พระพุทธเจ้าตรัสว่า ความรักเสมอตนไม่มี
    หมายความว่า เราต้องรู้จักรักและเมตตาตั<WBR>วเองก่อน

    รักตัวเองไม่ได้หมายความว่า ให้เห็นแก่ตัว เห็นแก่ได้
    แต่คือ ให้รู้จักรักตัวเอง อยากให้ตัวเองมีความสุข
    รักษาสุขภาพใจดี มีความสบายใจได้ทุกสถานการณ์

    พระพุทธเจ้าตรัสว่า ชีวิตนี้เป็นทุกข์ ทุกข์เป็นความจริงของชีวิต
    ความแก่ ความเจ็บ ความตาย ของตัวเราเอง ของญาติพี่น้องเป็นทุกข์
    เมื่อเราต้องอยู่กับคนที่ไม่<WBR>ชอบใจ สิ่งที่ไม่ชอบใจ

    เมื่อเราต้องพลัดพรากจากคนที่<WBR>เรารัก สิ่งที่เรารัก
    เมื่อเราปรารถนาสิ่งใดไม่ได้<WBR>ในสิ่งนั้น เหล่านี้ล้วนเป็นปัจจัยให้เกิ<WBR>ดทุกข์

    ถ้ามีเมตตาแก่ตัวเองแล้ว เราก็สามารถรักษาสบายใจ มีความสุขได้ในทุกสถานการณ์
    เพียงแต่ให้เข้าใจถูกต้องว่าเรา<WBR>มีโอกาสที่จะเมตตาแก่ตัวเองได้<WBR>เท่าเทียมกันทุกคน

    ที่นี่ เดี๋ยวนี้ ไม่ว่าจะมีฐานะอย่างไร ไม่ว่าจะสุขภาพดีหรือไม่ดี
    จะเกิดมาเป็นลูกใคร จะอยู่คฤหาสน์หลังใหญ่ จะกระท่อมหลังน้อย
    หรือแม้แต่อยู่ในเรือนจำ ทุกคนมีโอกาสเท่ากันที่จะมีความ<WBR>สุขใจได้
    ถ้าเรารู้จักรักและเมตตาแก่ตั<WBR>วเอง

    จากหนังสือ “ยิ้มน้อย ๆ ในใจ” โดยพระอาจารย์มิตซูโอะ คเวสโก
     
  5. คมสันต์usa

    คมสันต์usa เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 เมษายน 2012
    โพสต์:
    1,879
    ค่าพลัง:
    +11,861
         เห็น     โรงเหล้า   เตากลั่น     ควันขโมง
               มี       แม่โขง    โรงสุรา   บางยี่ขัน
                    แต่     กวางทอง   น้องแม่โขง    โรงใกล้กัน
                         เมา    ทุก   วัน  วางตลาด   ขาด   จะ   ตาย
          


    สาระธรรมวันนี้  ศีลข้อที่  ๕  สุราเมระยะมัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมะณี
                                     สิกขาปะทัง สะมาทิยามิ

     
     ส่วนนักเลงสุรา  หรือคนเลี่ยงบาลี นำไปแปรว่า  สุรา รินมา เป็น ระยะ ฯ
                        พร้อมโชดา และ กับแกล้ม รีบหามา อย่าให้ขาด
     
  6. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    คุณคมสันต์ช่างรู้ใจนักเลงสุราดีแท้นะคะ :cool:
     
  7. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
  8. เจวิติ

    เจวิติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กันยายน 2010
    โพสต์:
    377
    ค่าพลัง:
    +1,021
    [​IMG]

    อรุณสวัสดิ์ทุกท่านคร้า
     
  9. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    เพียงใจ ที่ได้รัก
    แม้อกหัก จักทนไหว
    เพียงได้ มอบหัวใจ
    ฝากเอาไว้ ก็เกินพอ
     
  10. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    สวัสดีค่ะน้องเอยที่น่ารัก ส่งเพื่อนเกลอมายืนยิ้มแฉ่งเลยนะคะ
     
  11. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    ด้วยรัก ฉันจักให้ ความเชื่อใจ มิคลายคลอน
    ด้วยรัก จักอาทร มิถ่ายถอน คำสัญญา
     
  12. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
  13. เจวิติ

    เจวิติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กันยายน 2010
    โพสต์:
    377
    ค่าพลัง:
    +1,021
    [​IMG]
     
  14. เจวิติ

    เจวิติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    12 กันยายน 2010
    โพสต์:
    377
    ค่าพลัง:
    +1,021

    [​IMG]
     
  15. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    สาธุค่ะ

    สงสัยนอนดึก น้องเรากลายเป็นแพนด้าไปแล้ว.....:cool:
     
  16. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    อรุณสวัสดิ์ค่ะ วันนี้อากาศสดชื่นแจ่มใส เราก็พลอยมีหัวใจเบิกบาน
    เมื่อวานนี้ สามารถกล่อมจิตกล่อมใจเด็กๆให้ทำคุณงามความดี มีจิตเป็นสาธารณะได้จำนวนหนึ่ง เห็นเขาอาสาทำงานเพื่อโรงเรียน หัวใจของครูคนนี้ช่างมีความสุขเหลือเกิน
     
  17. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    แล้วเด็กอีกห้อง ที่ไม่เคยเรียนรู้เรื่องเลย สอบก็ได้คะแนนน้อยกว่าใครเขา กลายเป็นเด็กที่ขยันหมั่นเพียร ตั้งอกตั้งใจเรียนเพราะการกระตุ้นของครู เมื่อวานนี้กลายเป็นเด็กชั้นแนวหน้า ที่ตอบคำถามได้ไม่ผิดแม้สักคำถามเดียว มันเป็นพลังอันยิ่งใหญ่ เป็นรางวัลอันทรงคุณค่าที่เขามอบให้ครูคนนี้ ที่หวังดีต่อเขายิ่งนัก
     
  18. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    อรุณสวัสดิ์ค่ะคุณSuperSaiya ดีใจจังได้อ่านกลอนเพราะๆตั้งแต่เช้า
    เดี๋ยวติงจะออกไปโอนเงินทำบุญกับเพื่อนๆในเว็บ อนุโมทนาบุญร่วมกันนะคะ
     
  19. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    เมื่อวานพาเด็กๆในความดูแลทำความสะอาดอาคารเรียน ทำสวนหย่อม จัดบอร์ด และออกความคิดเห็นในการตกแต่งห้อง มีทั้งความสุขทั้งเหนื่อย เด็กๆของติงนั้นขึ้นชื่อเรื่องความซน ทำงานกับเขาต้องทำใจมากกว่าทำงาน แต่เขาก็ยังมีความน่ารัก แม้ลิงจะเรียกเขาว่าลูกพี่
     
  20. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    [​IMG]



    "การไม่มีสัจจะต่อตนเอง" โดยสมเด็จพระพุฒาจารย์ วัดสระเกศ ฯ

    คนที่ยังเป็นปุถุชนอยู่ แม้แต่การที่เขาเท็จต่อตนเองก็ย<WBR>ังมี เช่น
    เราตั้งสัจจะกับตนเองว่าจะไหว้พ<WBR>ระทุกวัน พอถึงเวลาเข้าจริง
    "เอาไว้ก่อนเถอะ..อย่าเพิ่งไหว้<WBR>เลย" นี่คือเท็จต่อตัวเอง


    เราตั้งสัจจะกับตนเองว่า เราจะนั่งกรรมฐานทุกวัน
    ปรากฏว่าวันนี้อย่านั่งเลย ทำธุระเสียก่อน
    นี่เราก็เท็จต่อตนเองเหมือนกัน เท็จต่อตนเอง คือ ไม่ซื่อตรงต่อตนเอง


    การไม่มีสัจจะต่อตนเองอย่างนี้ ไม่ใช่ว่าจะมีโทษมากมาย
    แต่ทำให้เราเป็นคนจิตใจไม่เข้มแ<WBR>ข็ง จิตใจไม่แน่นอน
    จิตใจโยกโคลง แม้ตัวเราเอง เราก็ไม่มีสัจจะต่อตัวของเรา


    คำสอนของเจ้าประคุณสมเด็จพระพุ<WBR>ฒาจารย์ (เกี่ยว อุปเสโณ)
     

แชร์หน้านี้

Loading...