ลำนำเพลงรักของนักกลอน

ในห้อง 'จักรวาลคู่ขนาน' ตั้งกระทู้โดย ติงติง, 8 กุมภาพันธ์ 2012.

  1. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    [​IMG]
    [FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ตัวอย่างคำประพันธ์[/FONT]
    <CENTER><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="70%"><TBODY><TR><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]สิบเอ็ดบอกความนัย[/FONT]</TD><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]หนึ่งบาทไซร้องพยางค์[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    <CENTER><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="80%"><TBODY><TR><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]วรรคหน้าอย่าเลือนราง[/FONT]</TD><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]จำนวนห้าพาจดจำ[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    <CENTER><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="70%"><TBODY><TR><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]หกพยางค์ในวรรคหลัง[/FONT]</TD><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]ตามแบบตั้งเจ้าลองทำ[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    <CENTER><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="80%"><TBODY><TR><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]สัมผัสตามชี้นำ[/FONT]</TD><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]โยงเส้นหมายให้เจ้าดู[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    <CENTER><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="70%"><TBODY><TR><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]สุดท้ายของวรรคหนึ่ง[/FONT]</TD><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]สัมผัสตรึงสามนะหนู[/FONT]</TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>
    <CENTER><TABLE border=0 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="80%"><TBODY><TR><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]หกห้าโยงเป็นคู่[/FONT]</TD><TD width="50%">[FONT=MS Sans Serif, Microsoft Sans Serif]เร่งเรียนรู้สร้างผลงาน[/FONT]

    </TD></TR></TBODY></TABLE></CENTER>​
     
  2. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    อรุณสวัสดิ์ค่ะท่านแปะแปะ
    กลอนสามบทนี้ทั้งไพเราะและมีคติสอนใจ
    ติงกราบขอบพระคุณท่านแปะแปะ
    ที่มอบกลอนธรรมะดีๆมีคุณค่าไว้ในกระทู้นี้นะคะ
    หากท่านพอมีเวลาว่าง
    เรียนเชิญนำเสนอบทกลอนธรรมะอีกนะคะ
    กราบอนุโมทนาค่ะ
    ติงลี่.
     
  3. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    คุณสร้อย พี่ติงขอบพระคุณสำหรับอินทรวิเชียรฉันท์ ๑๑ นะคะ
    นับเป็นแรงบันดาลใจสำหรับมือสมัครเล่นอย่างพี่ติง
    ไว้มีเวลาว่างพี่ติงจะลองหัดแต่งดูค่ะ
    ความที่ไม่เคยแต่งมาก่อน(แต่ชอบมากค่ะ เป็นฉันท์ที่ไพเราะมาก)
    อาจต้องพิจารณาว่าแต่งถูกต้องตามฉันทลักษณ์หรือเปล่า
    ไม่อาจแต่งแบบคิดไปพิมพ์ไปได้เลยค่ะ
    พี่ติงชื่นชมคุณสร้อยมากนะคะ
    แต่งคำประพันธ์แบบมืออาชีพมากค่ะ
    พี่ติงก็เลยมีแบบอย่างที่ดี
    ขอบพระคุณคุณสร้อยมากนะคะ คุณสร้อยน้องรัก.
    พี่ติง.
     
  4. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    กลอน 4
    ตามหลักฐานทางวรรณคดีไทย กลอน 4 ที่เก่าที่สุดพบในมหาชาติคำหลวงกัณฑ์มหาพน (สมัยอยุธยา) แต่ต่อมาไม่ปรากฏในวรรณคดีไทยมากนัก มักแทรกอยู่ตามกลอนบทละครต่าง ๆ
    ตัวอย่างกลอน 4 ในวรรณคดีไทยที่พบมี 2 แบบ คือ
    กลอน 4 แบบที่ 1

    คณะ กลอน 4 แบบนี้ บทหนึ่งจะประกอบด้วย 2 บาท บาทละ 2 วรรค วรรคละ 4 คำ ตามผัง
    <TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD width=240>O O O O</TD><TD width=10></TD><TD width=240>O O O O</TD></TR><TR><TD>O O O O</TD><TD></TD><TD>O O O O</TD></TR></TBODY></TABLE>
    สัมผัส แบบกลอนทั่วไป คือ คำสุดท้ายวรรคหน้าสัมผัสกับคำที่สองของวรรคหลัง และคำสุดท้ายวรรคที่สองสัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคที่สาม ส่วนสัมผัสระหว่างบทก็เช่นเดียวกัน คือ คำสุดท้ายวรรคที่สี่ของบทแรก สัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคที่สองของบทถัดไป (ดูตัวอย่าง)
    <DL><DT>ตัวอย่าง กลอน 4 แบบที่ 1</DT></DL><TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD style="TEXT-INDENT: 2em" width=240>เหวยเหวยอีจันทรา</TD><TD width=10></TD><TD width=240>ขึ้นหน้าเถียงผัว</TD></TR><TR><TD>อุบาทว์ชาติชั่ว</TD><TD></TD><TD>ไสหัวมึงไป</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD width=240>นางจันทาเถียงเล่า</TD><TD width=10></TD><TD width=240>พระองค์เจ้าหลงไหล</TD></TR><TR><TD>ไล่ตีเมียไย</TD><TD></TD><TD>พระไม่ปรานี</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD width=240>เมียผิดสิ่งใด</TD><TD width=10></TD><TD width=240>พระไล่โบยตี</TD></TR><TR><TD>หรือเป็นกาลี</TD><TD></TD><TD>เหมือนที่ขับไป</TD></TR><TR><TD colSpan=3 align=right>— บทละครครั้งกรุงเก่า เรื่อง สังข์ทอง</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  5. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    กลอน 4 แบบที่ 2
    คณะ กลอน 4 แบบนี้ บทหนึ่งประกอบด้วย 4 บาท บาทละ 2 วรรค วรรคละ 4 คำ ตามผัง
    <TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD width=240>O O O O</TD><TD width=10></TD><TD width=240>O O O O</TD></TR><TR><TD>O O O O</TD><TD></TD><TD>O O O O</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD width=240>O O O O</TD><TD width=10></TD><TD width=240>O O O O</TD></TR><TR><TD>O O O O</TD><TD></TD><TD>O O O O</TD></TR></TBODY></TABLE>
    สัมผัสนอก ในทุกบาท คำสุดท้ายของวรรหน้า สัมผัสกับคำที่สองของวรรคหลัง มีสัมผัสระหว่างบาทที่สองกับสาม คือ คำสุดท้ายวรรที่สี่สัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคที่หก ส่วนสัมผัสระหว่างบทนั้นจะแตกต่างจากแบบแรก เนื่องจากให้คำสุดท้ายของบทแรกสัมผัสกับคำสุดท้ายของวรรคที่สี่ของบทถัดไป (ดูตัวอย่าง)
    <DL><DT>ตัวอย่าง กลอน 4 แบบที่ 2</DT></DL><TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD style="TEXT-INDENT: 2em" width=240>จักกรีดจักกราย</TD><TD width=10></TD><TD width=240>จักย้ายจักย่อง</TD></TR><TR><TD>ไม่เมินไม่มอง</TD><TD></TD><TD>ไม่หมองไม่หมาง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD width=240>งามเนื้องามนิ่ม</TD><TD width=10></TD><TD width=240>งามยิ้มงามย่าง</TD></TR><TR><TD>ดูคิ้วดูคาง</TD><TD></TD><TD>ดูปรางดูปรุง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD style="TEXT-INDENT: 2em" width=240>ดั่งดาวดั่งเดือน</TD><TD width=10></TD><TD width=240>ดั่งจะเลื่อนดั่งจะลอย</TD></TR><TR><TD>พิศเช่นพิศช้อย</TD><TD></TD><TD>พิศสร้อยพิศสุง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD width=240>ช่างปลอดช่างเปรื่อง</TD><TD width=10></TD><TD width=240>ช่างเรืองช่างรุ่ง</TD></TR><TR><TD>ทรงแดดทรงดุ่ง</TD><TD></TD><TD>ทรงวุ้งทรงแวง</TD></TR><TR><TD colSpan=3 align=right>— กลบทจาตุรงคนายก, ศิริวิบุลกิตติ, หลวงปีชา (เซ่ง)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    สัมผัสใน ไม่บังคับ แต่กวีมักจัดให้มีสัมผัสระระหว่างคำที่สองและคำที่สามของทุกวรรค
     
  6. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    กลอน 6
    ตามหลักฐานทางวรรณคดีไทย กลอน 6 พบครั้งแรกในกลบทศิริวิบุลกิตติ สมัยอยุธยาตอนปลาย<SUP> </SUP>นอกนั้นก็แทรกอยู่ในกลอนบทละคร แต่ที่ใช้แต่ตลอดเรื่องเริ่มมีในสมัยรัชกาลที่ ๖ แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ คือ กนกนคร ของกรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ (น.ม.ส.)
    คณะ กลอนหก บทหนึ่งประกอบด้วย 2 บาท บาทละ 2 วรรค วรรคละ 6 คำ ตามผัง
    <TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD width=240>O O O O O O</TD><TD width=10></TD><TD width=240>O O O O O O</TD></TR><TR><TD>O O O O O O</TD><TD></TD><TD>O O O O O O</TD></TR></TBODY></TABLE>
    สัมผัสนอก ให้มีสัมผัสระหว่างคำสุดท้ายวรรคหน้ากับคำที่สองของวรรคหลังของทุกบาท และให้มีสัมผัสระหว่างบาทคือคำสุดท้ายของวรรคที่สองสัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคที่สาม ส่วนสัมผัสระหว่างบท กำหนดให้คำสุดท้ายของบทแรก สัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคที่สองของบทถัดไป
    สัมผัสใน ไม่บังคับ แต่หากจะให้กลอนสละสลวยควรมีสัมผัสระหว่างคำที่สองกับคำที่สาม หรือระหว่างคำที่สี่กับคำที่ห้าของแต่ละวรรค
    <DL><DT>ตัวอย่างกลอน 6</DT></DL><TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD style="TEXT-INDENT: 2em" width=240>วันหนึ่งสากลย์คนธรรพ์</TD><TD width=10></TD><TD width=240>พร้อมกันสังคีตดีดสี</TD></TR><TR><TD>เป็นที่เหิมเหมเปรมปรี</TD><TD></TD><TD>ต่างมีสุขล้ำสำราญ</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD width=240>บางองค์ทรงรำทำเพลง</TD><TD width=10></TD><TD width=240>บังคลบรรเลงศัพท์สาร</TD></TR><TR><TD>บันเทิงเริงรื่นชื่นบาน</TD><TD></TD><TD>ในวารอิ่มเอมเปรมใจ</TD></TR><TR><TD colSpan=3 align=right>— กนกนคร, กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  7. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    กลอน 7
    ตามหลักฐานทางวรรณคดีไทย กลอน 7 พบครั้งแรกในกลบทศิริวิบุลกิตติ สมัยอยุธยาตอนปลาย<SUP> </SUP>นอกนั้นก็แทรกอยู่ในกลอนบทละคร ไม่ค่อยมีใครใช้แต่งยาวๆ จนถึงสมัยกรมหมื่นพิทยาลงกรณ์ (น.ม.ส.) ที่ท่านนำมาใช้ในพระนิพนธ์ ลิลิตสามกรุง
    คณะ กลอนเจ็ด บทหนึ่งประกอบด้วย 2 บาท บาทละ 2 วรรค วรรคละ 7 คำ ตามผัง
    <TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD width=240>O O O O O O O</TD><TD width=10></TD><TD width=240>O O O O O O O</TD></TR><TR><TD>O O O O O O O</TD><TD></TD><TD>O O O O O O O</TD></TR></TBODY></TABLE>
    สัมผัสนอก ให้มีสัมผัสระหว่างคำสุดท้ายวรรคหน้ากับคำที่สองของวรรคหลังของทุกบาท และให้มีสัมผัสระหว่างบาทคือคำสุดท้ายของวรรคที่สองสัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคที่สาม ส่วนสัมผัสระหว่างบท กำหนดให้คำสุดท้ายของบทแรก สัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคที่สองของบทถัดไป
    สัมผัสใน ไม่บังคับ แต่หากจะให้กลอนสละสลวยควรมีสัมผัสระหว่างคำที่สองกับคำที่สาม หรือระหว่างคำที่สี่กับคำที่ห้าหรือคำที่หกของแต่ละวรรค
    <DL><DT>ตัวอย่างกลอน 7</DT></DL><TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD style="TEXT-INDENT: 2em" width=240>เสตเตลงเกรงกริ่งนิ่งรำลึก</TD><TD width=10></TD><TD width=240>คัดคึกข่าวทัพดูคับขัน</TD></TR><TR><TD>จักเตรียมค่ายใหญ่ก็ไม่ทัน</TD><TD></TD><TD>จำกั้นกีดขวางหนทางยุทธ์</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD width=240>ตั้งขัดตาทับรับไว้ก่อน</TD><TD width=10></TD><TD width=240>เพื่อผ่อนเวลาให้ช้าสุด</TD></TR><TR><TD>จวนตัวกลัวว่าศัตราวุธ</TD><TD></TD><TD>หวิดหวุดหมดหวังในครั้งนี้</TD></TR><TR><TD colSpan=3 align=right>— สามกรุง, กรมหมื่นพิทยาลงกรณ์</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  8. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    กลอน 8
    ตามหลักฐานทางวรรณคดีไทย กลอน 8 พบครั้งแรกในกลบทศิริวิบุลกิตติ สมัยอยุธยาตอนปลาย<SUP> </SUP>ซึ่งค้นพบกันว่าจังหวะและลีลาลงตัวที่สุด จึงมีคนแต่งแบบนี้มากที่สุด และผู้ที่ทำให้กลอน 8 รุ่งเรืองที่สุดคือท่าน สุนทรภู่ ที่ได้พัฒนาเพิ่มสัมผัสอย่างเป็นระบบ ซึ่งใกล้เคียงกับกลบทมธุรสวาทีในกลบทศิริวิบุลกิตติ์
    กลอนแปด นั้นถือว่าเป็นขนบกวีนิพนธ์พื้นฐานที่นิยมที่สุดในไทย เหตุเพราะมีฉันทลักษณ์ที่เรียบง่ายไม่ซับซ้อน สามารถแสดงอารมณ์ได้หลากหลาย และคนทั่วไปสามารถเข้าถึงเนื้อความได้ไม่ยาก หนึ่งในรูปแบบของกลอนแปดก็คือ รูปแบบกลอนแปดของสุนทรภู่ ซึ่งความแพรวพราวด้วยสัมผัสใน และขนบดังกล่าวนี้ก็ได้รับการสืบทอดต่อมาในงานกวีนิพนธ์ยุคหลังๆ กระทั่งปัจจุบัน
    คณะ กลอนแปด บทหนึ่งประกอบด้วย 2 บาท บาทละ 2 วรรค วรรคละ 8 คำ ตามผัง
    <TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD width=240>O O O O O O O O</TD><TD width=10></TD><TD width=240>O O O O O O O O</TD></TR><TR><TD>O O O O O O O O</TD><TD></TD><TD>O O O O O O O O</TD></TR></TBODY></TABLE>
    สัมผัสนอก ให้มีสัมผัสระหว่างคำสุดท้ายวรรคหน้ากับคำที่สามของวรรคหลังของทุกบาท และให้มีสัมผัสระหว่างบาทคือคำสุดท้ายของวรรคที่สองสัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคที่สาม ส่วนสัมผัสระหว่างบท กำหนดให้คำสุดท้ายของบทแรก สัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคที่สองของบทถัดไป
    สัมผัสใน ไม่บังคับ แต่หากจะให้กลอนสละสลวยควรมีสัมผัสระหว่างคำที่สามกับคำที่สี่ หรือระหว่างคำที่ห้ากับคำที่หกหรือคำที่เจ็ดของแต่ละวรรค
    หลักการใช้เสียงวรรณยุกต์
    • คำสุดท้ายของวรรคที่ ๑ ใช้เสียง สามัญ เอก โท ตรี จัตวา แต่ไม่นิยมเสียงสามัญ
    • คำสุดท้ายของวรรคที่ ๒ ห้ามใช้เสียง สามัญ หรือ ตรี นิยมใช้เสียง จัตวา เป็นส่วนมาก
    • คำสุดท้ายของวรรคที่ ๓ ห้ามใช้เสียง เอก โท จัตวา นิยมใช้เสียง สามัญ หรือ ตรี
    • คำสุดท้ายของวรรคที่ ๔ ห้ามใช้เสียง เอก โท จัตวา นิยมใช้เสียง สามัญ หรือ ตรี

    <DL><DT>ตัวอย่างกลอน 8</DT></DL><TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD style="TEXT-INDENT: 2em" width=240>อตีเตแต่นานนิทานหลัง</TD><TD width=10></TD><TD width=240>มีนัครังหนึ่งกว้างสำอางศรี</TD></TR><TR><TD>ชื่อจัมบากหลากเลิศประเสริฐดี</TD><TD></TD><TD>เจ้าธานีมียศกิต์มหิศรา</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD width=240>ดำรงภพลบเลิศประเสริฐโลกย์</TD><TD width=10></TD><TD width=240>เปนจอมโจกจุลจักรอรรคมหา</TD></TR><TR><TD>อานุภพปราบเปรื่องกระเดื่องปรา-</TD><TD></TD><TD>กฎเดชาเป็นเกษนิเวศน์เวีย</TD></TR><TR><TD colSpan=3 align=right>— กลบทมธุรสวาที , ศิริวิบุลกิตติ, หลวงปรีชา (เซ่ง)</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
  9. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    กลอน 9
    ตามหลักฐานทางวรรณคดีไทย กลอน 9 พบครั้งแรกในกลบทศิริวิบุลกิตติ สมัยอยุธยาตอนปลาย เช่นเดียวกัน แต่กวีไม่ค่อยนิยมแต่งกันมากนัก เนื่องจากเห็นว่ากลอนแปดลงตัวมากที่สุด
    คณะ กลอนเก้า บทหนึ่งประกอบด้วย 2 บาท บาทละ 2 วรรค วรรคละ 9 คำ ตามผัง
    <TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD width=240>O O O O O O O O O</TD><TD width=10></TD><TD width=240>O O O O O O O O O</TD></TR><TR><TD>O O O O O O O O O</TD><TD></TD><TD>O O O O O O O O O</TD></TR></TBODY></TABLE>
    สัมผัสนอก ให้มีสัมผัสระหว่างคำสุดท้ายวรรคหน้ากับคำที่สามของวรรคหลังของทุกบาท และให้มีสัมผัสระหว่างบาทคือคำสุดท้ายของวรรคที่สองสัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคที่สาม ส่วนสัมผัสระหว่างบท กำหนดให้คำสุดท้ายของบทแรก สัมผัสกับคำสุดท้ายวรรคที่สองของบทถัดไป
    สัมผัสใน ไม่บังคับ แต่หากจะให้กลอนสละสลวยควรมีสัมผัสระหว่างคำที่สามกับคำที่สี่หรือคำที่ห้า หรือระหว่างคำที่หกกับคำที่เจ็ดหรือคำที่แปดของแต่ละวรรค

    <DL><DT>ตัวอย่างกลอน 9</DT></DL><TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD style="TEXT-INDENT: 2em" width=240>นายชายพรานหนึ่งชาญไพรล่ำใหญ่ขยับ</TD><TD width=10></TD><TD width=240>ได้ยินกลองเดิรย่องกลับดูขับขัน</TD></TR><TR><TD>มือป้องหน้ามุ่งป่าแน่วแนวแถววัน</TD><TD></TD><TD>สุนัขย่องสุดมองขยันติดพันตาม</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD width=240>มุ่งปะทะมาปะที่คนตีกลอง</TD><TD width=10></TD><TD width=240>เพื่อนทักจ๋าพูดหน้าจ้องพรานร้องถาม</TD></TR><TR><TD>เดิมแรกหูได้รู้เหตุสังเกตความ</TD><TD></TD><TD>ว่าทรงนามว่าทรามนาฎนิราศจร</TD></TR><TR><TD colSpan=3 align=right>— กลบทระลอกแก้วกระทบฝั่ง, ศิริวิบุลกิตติ, หลวงปรีชา (เซ่ง)</TD></TR></TBODY></TABLE>
    กวีที่นิยมใช้กลอนเก้า คือท่านพุทธทาสภิกขุ และท่านยังนิยมเขียนแยกตามจังหวะอ่าน ทำให้คนอ่านได้ถูกต้องตามจังหวะ อ่านง่ายและเข้าใจง่าย

    <DL><DT>ตัวอย่าง</DT></DL><TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD style="TEXT-INDENT: 2em" width=240>ศีลธรรมเลว คนก็ได้ กลายเป็นผี</TD><TD width=10></TD><TD width=240>หาความดี ไม่ประจักษ์ สักเส้นขน</TD></TR><TR><TD>ศีลธรรมดี ผีก็ได้ กลายเป็นคน</TD><TD></TD><TD>ที่เลิศล้น ภูมิใจ ไหว้ตัวเอง</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE style="BACKGROUND-COLOR: transparent; MARGIN: 0px auto; WIDTH: 490px"><TBODY><TR><TD width=240>ศีลธรรมต่ำ เปลี่ยนคน จนคล้ายสัตว์</TD><TD width=10></TD><TD width=240>จะกินกัด โกงกัน ขมันเขม็ง</TD></TR><TR><TD>ศีลธรรมสูง คนสดใส ไม่อลเวง</TD><TD></TD><TD>ล้วนยำเกรง กันและกัน ฉันเพื่อนตาย</TD></TR><TR><TD colSpan=3 align=right>— ศีลธรรมกับคน : พุทธทาสภิกขุ</TD></TR></TBODY></TABLE>
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 12 กุมภาพันธ์ 2012
  10. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=y63_7ZFuZcQ]ข้างหลังภาพ - YouTube[/ame]
     
  11. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=49FgtovQ0ss]กุหลาบปากซัน - YouTube[/ame]
     
  12. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    ข้างหลังภาพ :: หนู มิเตอร์

    มองภาพถ่ายแล้วใจคิดถึง เฝ้ารำพึงคิดถึงแต่เธอ
    มั่นในรักสม่ำเสมอ ยังรักเธอมิมีเสื่อมคลาย

    * ไกลแสนไกลสุดโค้งขอบฟ้า ไกลสุดตาฟ้ามิอาจกั้นใจ
    หวงสุดห่วงใจนั้นแสนห่วงใย ไกลแสนไกลใจนั้นสุดคิดถึง

    เฝ้ารำพึงกับรวงข้าวหล่น บ่นอยู่กลางท้องนา
    ครวญตามสายลมมา บอกเธอว่าข้าคิดถึง(ดนตรี)

    ข้างหลังภาพจารึกอักษร เป็นบทกลอนรักอันหวานซึ้ง
    มีความรักมาให้ มีหัวใจมาฝากหากว่าเธอต้องการก็เก็บรักษา

    ไว้เพราะหัวใจดวงนี้มีความรัก เพราะหัวใจดวงนี้มีความภักดี
    เพราะหัวใจดวงนี้มีความจริงใจ

    บ้านหลังน้อยที่อยู่หลังสวน หอมอลอวลด้วยมวลดอกไม้
    ฝากความรักและความห่วงใย ส่งมาให้เก็บไว้นะเธอ


    [​IMG]
     
  13. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    ข้างหลังภาพ
    มองภาพถ่ายแล้วใจคิดถึง เฝ้ารำพึงคิดถึงแต่เธอ
    มั่นในรักสม่ำเสมอ ยังรักเธอมิมีเสื่อมคลาย

    *ไกลแสนไกลสุดโค้งขอบฟ้า ไกลสุดตาฟ้ามิอาจกั้นใจ
    หวงสุดห่วงใจนั้นแสนห่วงใย ไกลแสนไกลใจนั้นสุดคิดถึง

    **เฝ้ารำพึงกับรวงข้าวหล่น บ่นอยู่กลางท้องนา
    ครวญตามสายลมมา บอกเธอว่าข้าคิดถึง

    ข้างหลังภาพจารึกอักษร เป็นทบกลอนรักอันหวานซึ้ง
    มีความรักมาให้ มีหัวใจมาฝาก หากว่าเธอต้องการก็เก็บรักษาไว้

    เพราะหัวใจดวงนี้มีความรัก เพราะหัวใจด้วงนี้มีความภักดี
    เพราะหัวใจดวงนี้มีความจริงใจ

    บ้านหลังน้อยที่อยู่หลังสวน หอมอบอวลด้วยมวลดอกไม้
    ฝากความรักและความห่วงใย ส่งมาให้เก็บไว้นะเธอ

    [​IMG][​IMG][​IMG]<!-- End Comment 5-->

    <!-- End Comment 5-->

    <!-- End Comment 5-->
     
  14. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=BGVGK9Y5lNs]ตะวันรอนที่หนองหาน - YouTube[/ame]
     
  15. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    ตะวันรอนที่หนองหาร
    โอ้ละเน้อ โอ โอ โอ โอ้ ละเน้อ ผู้สาวภูไท ใช่มีแต่ที่เรณู
    ได้ฮักแล้วพี่ได้ฮู้ คือสาวภูไทสกลนคร ครั้นไปเที่ยวงานพระธาตุเชิงชุม
    ได้พบบังอร เหมือนเคยร่วมบุญปางก่อน
    ที่สุดขอบฟ้าก็มาพบพาน แดดอัศดงค่ำลงที่ฝั่งหนองหาร
    เฮาสองเคยเที่ยวด้วยกัน มนต์ฮักสายัญห์สวาทวาบหวาม
    สายลมโชยชิ้วทิวสนลิ่ว โอนสอดเสียงกังวาน
    เหมือนเสียงใจเฮาสาบาน ให้หนองหารได้เป็นสักขี
    โอ้ละเน้อ หัวใจดังเหมือนต้องมนต์ ท้าวผาแดงและนางไอ่ดล
    ให้เจอน้อง ณ แดนแห่งนี้ วอนจ้าวช่วยคุ้มฮักยั่งยืน
    อย่าได้หน่ายหนี เหมือนนิยายมีอยู่คู่หนองหาร
    คนขานกล่าวชม แดดอ่อนคราใดหัวใจพี่สั่นสะท้าน
    คิดถึงเคยฮักผูกพัน คิดถึงหนองหารที่เคยรื่นรมณ์
    ความหลังฝั่งหนอง ที่เคยประคองนวลน้องแนบชม
    หัวใจยังครางระงม โอ้แม่สาวสกลที่รัก.
     
  16. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    [ame=http://www.youtube.com/watch?v=TkNWoDqdGjo]อรวรรณ วิเศษพงษ์ ผู้ครองรัก - YouTube[/ame]
     
  17. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    <TABLE style="BORDER-COLLAPSE: collapse" id=AutoNumber1 border=0 cellSpacing=0 borderColor=#111111 cellPadding=0 width="90%"><TBODY><TR><TD class=ms_menublack width="20%" colSpan=2></TD></TR><TR><TD class=ms_menublack width="20%">เพลง </TD><TD class=ms_menublack>ผู้ครองรัก</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE style="BORDER-COLLAPSE: collapse" id=AutoNumber2 border=0 cellSpacing=0 borderColor=#111111 cellPadding=0 width="90%"><TBODY><TR><TD class=ms_menublack width="20%">ศิลปิน </TD><TD class=ms_menublack>อรวรรณ วิเศษพงษ์</TD></TR></TBODY></TABLE>
    <TABLE style="BORDER-COLLAPSE: collapse" id=AutoNumber3 border=0 cellSpacing=0 borderColor=#111111 cellPadding=0 width="90%"><TBODY><TR><TD class=ms_menublack width="20%">รหัสเพลง </TD><TD class=ms_menublack>07585</TD></TR></TBODY></TABLE>​
    ขอรักเขาชั่วฟ้าดินสลาย
    ยั่งยืนคล้ายดังเมฆ
    ลอยฟ่องอยู่ครองคู่ฟ้า
    ครอง มั่นประทับอุรา
    ครองดั่งจันทรา ครองฟ้า ราตรี
    ขอรักเขาเช่นผู้เป็นทาสแพ้
    ซื่อตรงแม้จะถูก
    นายหวดโบยไม่หลีกลี้
    ยอม มอบใจและร่างพลี
    นายไม่ ปราณี
    แม้ชีพจะป่นก็ทนเอา
    ปวด ในดวงใจเพราะบาป
    สาป ใจข้าไว้เคียงเจ้า
    ข้ารู้ ว่าตนเผลอใจไปเปล่า
    ซื่อตรงภักดีคอยเฝ้า
    ก็เศร้าระกำช้ำใจ
    แม้รู้เขาไม่รักเราอีกแล้ว
    ซึ่งไม่แคล้วครองเศร้า
    ก็จักชูรักเชิดไว้
    คุณ ค่าความรักจากใจ
    เลอเลิศเพียงไร
    เสียดายอุตส่าห์ครองมานาน
    ..ปวด ในดวงใจเพราะบาป
    สาป ใจข้าไว้เคียงเจ้า
    ข้ารู้ ว่าตนเผลอใจไปเปล่า
    ซื่อตรงภักดีคอยเฝ้า
    ก็เศร้าระกำช้ำใจ
    แม้รู้เขาไม่รักเราอีกแล้ว
    ซึ่งไม่แคล้วครองเศร้า
    ก็จักชูรักเชิดไว้
    คุณ ค่าความรักจากใจ
    เลอเลิศเพียงไร
    เสียดายอุตส่าห์ครองมานาน...

     
  18. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    [​IMG]

    ตะวันรอนที่หนองหาร

    เหมือนมีมนต์ดลใจให้คิดถึง
    หนองหารตรึงประทับใจให้ครวญหา
    ดอกไม้งามน่าชมสมอุรา
    ลมโชยมาให้ภิรมย์สมฤทัย
    ....
     
  19. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    [​IMG]

    ผู้ครองรัก

    ขอมอบรักเอาไว้ในใจพี่
    ขอยอมพลีรักแน่ไม่แปรผัน
    ผูกสัมพันธ์หวานชื่นทุกคืนวัน
    จะรักมั่นอย่างนี้ที่รักเอย.
    .......
     
  20. ติงติง

    ติงติง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    1 มีนาคม 2009
    โพสต์:
    38,272
    ค่าพลัง:
    +82,730
    [​IMG]

    ข้างหลังภาพ

    มองภาพที่พี่ให้ในคราวก่อน
    จิตอาวรณ์แสนรักเป็นหนักหนา
    เหมือนภาพมีชีวิตมองกลับมา
    เพื่อบอกว่าคิดถึงอยู่ไม่รู้คลาย.
    ..........
     

แชร์หน้านี้

Loading...