รวบรวมข้อมูลเตรียมตัวรับมือกับภัยพิบัติ

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย kananun, 28 กันยายน 2006.

  1. naf06

    naf06 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    8 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    577
    ค่าพลัง:
    +2,227
    วันโลกาวินาศ

    (bb-flower (verygood)
     
  2. zipper

    zipper เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กันยายน 2004
    โพสต์:
    5,226
    ค่าพลัง:
    +10,590
    รูปที่ตั้งโรงงานไฟฟ้านิวเคลียร์ทั่วโลก ถ้าเข้าไปที่เวปจะกดตรงปุ่มวงกลมเพื่อดูตำแหน่งที่ตั้งได้ และก็มีดูแยกแต่ละทวีป

    [​IMG]

    ที่มา http://www.insc.anl.gov/pwrmaps/map/world_map.php
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 มกราคม 2007
  3. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    เยี่ยมมากครับคุณ zipper
     
  4. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ที่ยุโรปเยอะจัง
     
  5. zipper

    zipper เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กันยายน 2004
    โพสต์:
    5,226
    ค่าพลัง:
    +10,590
    ที่เห็นว่าเยอะ เพราะว่าเค้ารวมอันที่เลิกใช้งานแล้วและกำลังก่อสร้างเข้าไปด้วย ก็เลยเห็นว่าเยอะมาก
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 19 มกราคม 2007
  6. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

    ยินดีต้อนรับสู่แหล่งรวบรวมความรู้ด้านต่างๆของ วว. เช่น หนังสือ เอกสาร วารสาร บทความ และ อื่นๆ อีกมากมายให้ศึกษา[​IMG]
    <TABLE width=642><TBODY><TR><TD vAlign=top width=634><TABLE width="100%" align=center><TBODY><TR><TD vAlign=top align=left width=372><TABLE height=112 cellPadding=1 width=362 align=left border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle width=90 height=22>[​IMG]
    </TD><TD vAlign=top align=left width=262 height=22>สำหรับเยาวชน
    ข้อมูลกลุ่มเยาวชนเช่น หนังสืออ่านนอกเวลา หนังสือความรู้ทั่วไป เอกสารสำหรับค้นคว้าทำรายงาน และอื่นๆ </TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=90 height=68>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=262 height=68>เทคโนโลยีชนบท
    ข้อมูลกลุ่มเทคโนโลยีชนบทจะเน้นเอกสารหรือบทความเทคโนโลยี ที่สามารถนำไปประยุกต์ใช้งานใด้จริงในชีวิตประจำวัน</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=90 height=36>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=262 height=36>วิชาการ
    ข้อมูลกลุ่มวิชาการ รวมเอกสารหนังสือหรือบทความงานวิจัยของ วท. ที่ได้รับการตีพิมพ์ทั้งในประเทศและต่างประเทศ</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=90 height=36>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=262 height=36>ข่าว
    ข้อมูลกลุ่มข่าว รวมเอกสารข่าว วท. สัมพันธ์ เทคโนโลยีใหม่ กิจกรรมเด่น และอื่นๆ </TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=90 height=36>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=262 height=36>วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
    ข้อมูลกลุ่มวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี บทความหรือวารสารที่ให้ความรู้ทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี</TD></TR><TR><TD vAlign=center align=middle width=90 height=36>[​IMG]</TD><TD vAlign=top align=left width=262 height=36>ทั่วไป
    ข้อมูลกลุ่มทั่วไปรวมบทความ วารสาร หนังสือ ที่ไม่อยู่ในกลุ่มอื่นๆ เช่น "หนังสือสมุนไพร:การใช้อย่างถูกวิธี"</TD></TR></TBODY></TABLE></TD><TD vAlign=top width=250><!-- เอา Tech Transfer ออก <table border="0" cellspacing="0" cellpadding="0" width="200" height="22" > <tr> <td>[​IMG]</td> </tr></table> <table width="200" bgcolor="#00CC00" cellpadding="3" cellspacing="1" border="0" > <tbody> <tr> <td bgcolor="#FFFFCC" nowrap valign="top" height="164">
    <table width="100%" border="0" cellspacing="0" cellpadding="0" height="143" > <tr> <td width="10%" align="center" valign="top">[​IMG]</td> <td width="90%" valign="top" height="22"> 1. การถ่ายทอดเทคโนโลยี:
    แนวคิดพื้นฐาน
    </td> </tr> <tr> <td width="10%" height="22" align="center" valign="top">[​IMG]</td> <td width="90%" height="22" valign="top"> 2. ทรัพย์สินทางปัญญาและการถ่าย
    ทอดเทคโนโลยี
    </td> </tr> <tr> <td width="10%" height="22" align="center" valign="top">[​IMG]</td> <td width="90%" height="22" valign="top"> 3.กระบวนการได้มาซึ่งเทคโนโลยี
    </td> </tr> <tr> <td width="10%" height="22" align="center" valign="top">[​IMG]</td> <td width="90%" height="22" valign="top"> 4. การทำความเข้าใจในเรื่องสัญญา
    และการเริ่มต้นการทำสัญญา...
    </td> </tr> <tr> <td width="10%" height="22" align="center" valign="top">[​IMG]</td> <td width="90%" height="22" valign="top"> 5.การถ่ายทอดเทคโนโลยีในข้อตก-
    ลงเกี่ยวกับการอนุญาตให้ใช้สิทธิบัตร...
    </td> </tr> <tr> <td width="10%" height="25" align="center" valign="top">[​IMG]</td> <td width="90%" height="20" valign="top"> 6. สัญญาต้นแบบของการได้มาซึ่ง
    เทคโนโลยี
    </td> </tr> <tr> <td width="10%" height="28" align="center" valign="top">[​IMG]</td> <td width="90%" height="20" valign="top"> 7.การเจรจาต่อรองสัญญาในการได้มา
    ซึ่งเทคโนโลยี
    </td> </tr> <tr> <td width="10%" height="28" align="center" valign="top">[​IMG]</td> <td width="90%" height="20" valign="top"> 8.เฉลย การทบทวนแนวความคิด
    คู่มือเล่มที่ 1-7

    </td> </tr> </table> </td> </tr> </tbody> </table>
    --><TABLE height=22 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=200 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=1 cellPadding=0 width=200 bgColor=#0066ff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top noWrap bgColor=#ffffcc height=164>
    <TABLE height=143 cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle width="10%">[​IMG]</TD><TD vAlign=top width="90%" height=22>กระบี่อยู่ที่ใจ (หน้า1)
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width="10%" height=22>[​IMG]</TD><TD vAlign=top width="90%" height=22>เรื่องของธรรมชาติ (หน้า2)
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width="10%" height=22>[​IMG]</TD><TD vAlign=top width="90%" height=22>หูฉลาม หามฉลู (หน้า3)
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width="10%" height=22>[​IMG]</TD><TD vAlign=top width="90%" height=22>จากแอปเปิ้ลถึงหูฉลาม (หน้า4)
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width="10%" height=22>[​IMG]</TD><TD vAlign=top width="90%" height=22>วท.เตือนสูดไอปรอทอันตรายมากกว่า
    บริโภค (หน้า5)
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width="10%" height=25>[​IMG]</TD><TD vAlign=top width="90%" height=20>สงครามด้วยกากนิวเคลียร์ (หน้า6)
    </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width="10%" height=28></TD><TD vAlign=top align=left width="90%" height=28>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE height=50 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=202 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE height=22 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=200 border=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE height=107 cellSpacing=1 cellPadding=0 width=200 bgColor=#ff00ff border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top noWrap bgColor=#cccccc><TABLE height=101 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=198 border=0><TBODY><TR><TD vAlign=center align=middle bgColor=#cccccc height=66>
    <FORM name=form2 action=page_register.asp method=post><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="100%" align=center border=0><TBODY><TR><TD align=right width="37%" height=27>ชื่อ(Name):
    </TD><TD align=middle width="63%" height=27><INPUT maxLength=50 size=15 border=0 name=fname> </TD></TR><TR><TD align=right width="37%">อี-เมล์(E-mail):
    </TD><TD align=middle width="63%"><INPUT maxLength=50 size=15 border=0 name=fmail> </TD></TR><TR align=middle><TD colSpan=2>
    </TD></TR><TR align=middle bgColor=#cccccc><TD colSpan=2><INPUT type=submit value=ส่งข้อความ name=Submit2> <INPUT type=reset value=ลบข้อความ name=Submit3> </TD></TR></TBODY></TABLE></FORM></TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><!-- <table border="0" cellspacing="0" cellpadding="0" width="200" height="22" > <tr> <td> [​IMG]</td> </tr></table> --><!--<table width="200" bgcolor="#CCCC00" cellpadding="0" cellspacing="1" border="0" height="107"> <tbody> <tr> <td bgcolor="#EBEBEB" nowrap valign="top"> <table width="100%" border="0" cellspacing="0" cellpadding="0" height="45"> <tr> <td align="center" valign="middle" bgcolor="#FFFFCC">
    [​IMG] </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="middle" bgcolor="#FFFFCC"> จดหมายข่าว วท.(ฉบับที่9กันยายน 2544)
    </td> </tr> <tr> <td align="center" valign="middle" bgcolor="#FFFFCC">[​IMG]</td> </tr> </table> </td> </tr> </tbody> </table> -->
    </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE>

    <TABLE borderColor=#9900cc height=887 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=590 bgColor=#e3fff1 border=1><TBODY><TR><TD vAlign=bottom width=586 bgColor=#0066cc height=12>[​IMG] หนังสือใหม่ อ่านฟรี | เยาวชน | เทคโนโลยีชนบท | ทั่วไป[​IMG] |</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=left width=586 height=849><TABLE height=866 cellSpacing=0 cellPadding=0 width=582 border=0><TBODY><TR><TD colSpan=4>
    กลุ่มสำหรับเยาวชน
    กลับไปด้านบน </TD></TR><TR><TD align=middle width=150>
    [​IMG]</TD><TD align=middle width=150>
    [​IMG]</TD><TD align=middle width=150>
    [​IMG]</TD><TD align=middle width=150>
    [​IMG] </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>สัตว์น่า รู้นก(1)</TD><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>สัตว์น่ารู้ นก(2)</TD><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>สัตว์น่ารู้ สัตว์น้ำ</TD><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>สัตว์น่ารู้ สัตว์ป่า </TD></TR><TR><TD align=middle width=150>[​IMG] </TD><TD align=middle width=150>[​IMG] </TD><TD align=middle width=150>[​IMG] </TD><TD align=middle width=150>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>สัตว์น่ารู้ สัตว์โลก</TD><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>อาหารและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ(1)</TD><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>อาหารและผลิตภัณฑ์ธรรมชาติ(2)</TD><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>เกราะป้องกันชีวิต(1)</TD></TR><TR><TD align=middle width=150>[​IMG] </TD><TD align=middle width=150>[​IMG]</TD><TD align=middle width=150>[​IMG]</TD><TD align=middle width=150>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>เกราะป้องกันชีวิต(2)</TD><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>เทคโนโลยีชีวภาพใกล้ตัว(1)</TD><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>เทคโนโลยีชีวภาพใกล้ตัว(2)</TD><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>เกษตรน่ารู้(1)</TD></TR><TR><TD align=middle width=150>[​IMG] </TD><TD align=middle width=150>[​IMG]</TD><TD align=middle width=150>[​IMG]</TD><TD align=middle width=150>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>เกษตรน่ารู้(2)</TD><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>รอบรู้เรื่องบรรจุภัณฑ์(1)</TD><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>รอบรู้เรื่องบรรจุภัณฑ์(2)</TD><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม(1)</TD></TR><TR><TD align=middle width=150>[​IMG]</TD><TD align=middle width=150>[​IMG]</TD><TD align=middle width=150>[​IMG]</TD><TD align=middle width=150>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม(2)</TD><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>นานาสาระ(1)</TD><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>นานาสาระ(2)</TD><TD align=middle width=150 height=35>นานาสาระ(3)</TD></TR><TR><TD colSpan=4 height=27>
    กลุ่มเทคโนโลยีชนบท กลับไปด้านบน
    </TD></TR><TR><TD colSpan=4 height=10></TD></TR><TR><TD align=middle width=150>[​IMG] </TD><TD align=middle width=150>[​IMG]</TD><TD align=middle width=150>[​IMG]</TD><TD align=middle width=150>[​IMG]</TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>เทคโนโลยีสำหรับชนบท 1</TD><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>เทคโนโลยีสำหรับชนบท 2</TD><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>เทคโนโลยีสำหรับชนบท 3</TD><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>เทคโนโลยีสำหรับชนบท 4[​IMG]</TD></TR><TR><TD colSpan=4 height=27>
    กลุ่มทั่วไป กลับไปด้านบน
    </TD></TR><TR><TD colSpan=4 height=10></TD></TR><TR><TD align=middle width=150>[​IMG] </TD><TD align=middle width=150>[​IMG]</TD><TD align=middle width=150> </TD><TD align=middle width=150> </TD></TR><TR><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>สมุนไพร:การใช้อย่างถูกวิธี </TD><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35>นกในป่าสะแกราช</TD><TD vAlign=top align=middle width=150 height=35> </TD><TD align=middle width=150 height=35> </TD></TR></TBODY></TABLE></TD></TR></TBODY></TABLE><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="80%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle>
    <HR color=#cc3366 SIZE=1>สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย
    เทคโนธานี ถ.เลียบคลองห้า ต.คลองห้า อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 ประเทศไทย
    โทรศัพท์ 0-2577-9000
    โทรสาร 0-2577-9009

    196 พหลโยธิน จตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
    โทร. 0-2579-1121..30,0-2579-5515,0-2579-0160,0-2579-8533
    โทรสาร. 0-2561-4771,0-2579-8533 เทเลกซ์. 21392 TISTR TH
    เว็บไซด์ : http://www.tistr.or.th
    E-mail: hotline@tistr.or.th

    กระทรวงวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี

    ถนนพระราม 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400
    โทรศัพท์ : 0-2246-0064 , 0-2640-9600
    โทรสาร: 0-2246-8106
    เว็บไซด์ : http://www.most.go.th
    อีเมล์ : helpdesk@most.go.th

    สงวนลิขสิทธิ์ พ.ศ.2544 ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ.2537
    </TD></TR></TBODY></TABLE>​
    ที่มา http://www.most.go.th/other/iframe_tistr_book.asp
     
  7. zipper

    zipper เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กันยายน 2004
    โพสต์:
    5,226
    ค่าพลัง:
    +10,590
    http://pro-resources.net/nuclear-power-plant.html
    อันนี้เป็นเวปที่นำเสนอข้อมูลเกี่ยวกับโรงไฟฟ้านิวเคลียสและ ข้อมูลที่ว่าถ้าเกิดโรงไฟฟ้านิวเคลียมีปัญหา ก็มีพูดถึงประเด็นที่ว่าถ้ามีการก่อการร้ายเล็งเป้าไปที่โรงงานนิวเคลียสเหมือนกัน ที่เวปจะพูดเกี่ยวกับอเมริกา

    ส่วนนี่เป็นรูปในกรณีที่โรงไฟฟ้านิวเคลียสเกิดปัญหา(เสียหายจากภัยธรรมชาติหรือจากเหตุการณ์อื่น) และแสดงการเคลื่อนที่ของฝุ่นกัมมันตรังสีที่หลุดออกมาจากโรงงาน ซึ่งฝุ่นพวกนี้จะปลิวไปตามลม

    [​IMG]



    http://www.japannuclear.com/nuclearpower/program/location.html#

    ส่วนอันนี้เป็นเวปเกี่ยวกับโรงไฟฟ้านิวเคลียสที่ญี่ปุ่น
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 20 มกราคม 2007
  8. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    <TABLE width=500 align=center><TBODY><TR><TD width=760>เครื่องกรองน้ำสะอาดแบบชาวบ้าน


    <CENTER>[​IMG] </CENTER><CENTER> </CENTER>
    <DD>คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลศิริราช โดย ศจ.นพ. ร่มไทร สุวรรณิก ได้คิดค้นเครื่องกรองน้ำเสียให้เป็นน้ำบริสุทธิ์แบบประหยัด ด้วยวิธีการ ง่าย ๆ และลงทุนในราคา 300-400 บาท
    1. อุปกรณ์
    <DD>ก. โอ่งหรือถัง สูงประมาณ 18 นิ้ว (อาจจะมากกว่าก็ได้) จำนวน 3 ใบ
    <DD>ข. สายยางใส เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5 ซม. ยาว 2 เมตร
    <DD>ค. ขั้วต่อสายยาง คอยปรับระดับน้ำให้ไหลมากหรือน้อย 2 อัน สายยางและต้นขั้วต่อสายยางนั้นอาจใช้ชุดของ สายน้ำเกลือนำมาใช้ได้เลย ซึ่งสามารถขอได้ตาม โรงพยาบาลต่าง ๆ ซึ่งมีที่ปรับเร่งให้ไหลเร็วหรือช้า ก็ได้
    2. วิธีเจาะ

    <DD>ก. เจาะตุ่มด้วยฆ้อนกับตะปู กว้างพอกับสายยาง
    <DD>ข. โอ่งหรือถังใบที 1 เจาะ 1 รู สูงจากก้นโอ่ง 2 นิ้ว
    <DD>ค. โอ่งหรือถังใบที่ 2 และ 3 เจาะ 2 รู รูล่างให้เสมอกับ โอ่ง รูบนวัดจากปากโอ่งลงมา 2-3 นิ้ว

    <CENTER>[​IMG] </CENTER><CENTER>รูปที่ 1 แสดงการเจาะตุ่มหรือโอ่ง ต่อสายยาง และการบรรจุกรวดและทราย </CENTER>
    3. ต่อสายยาง
    <DD>ก. ต่อสายยางจากรูที่ก้นโอ่งใบที่ 1 กับสายยางที่รูก้นโอ่ง ใบที่ 2 โดยใช้ขั้วต่อ
    <DD>ข. ต่อสายยางจากรูที่ปากโอ่งใบที่ 2 กับสายยางที่รูก้น โอ่งใบที่ 3 โดยใช้ขั้วต่อเช่นเดียวกัน
    <DD>ค. เสียบสายยางที่รูปากโอ่งใบที่ 3 และปล่อยสายยาง ทิ้งไว้
    4. วิธีบรรจุกรวดและทราย <DD>ก. กรวดและทรายละเอียดที่ใช้ต้องล้างให้สะอาด
    <DD>ข. วิธีบรรจุกรวดและทรายละเอียดในโอ่งใบที่ 2 และ 3 เหมือนกัน
    <DD>ค. ใส่กรวดลงก่อนให้สูงพอมิดสายยาง เพื่อกันไม่ให้ ทรายเข้าไปอุดรูสายยาง
    <DD>ง. แล้วใส่ทรายละเอียดลงไปให้ความสูงของทรายอยู่ใต้ รูบนประมาณ 1 นิ้ว
    5. การยกระดับ ช่วยให้การไหลของน้ำดีขึ้น และป้องกันการไหล ย้อนกลับ

    <DD>ก. โอ่งใบที่ 1 สูงจากระดับพื้น 20 นิ้ว
    <DD>ข. โอ่งใบที่ 2 สูงจากระดับพื้น 10 นิ้ว
    <DD>ค. โอ่งใบที่ 3 สูงจากระดับพื้น 3 นิ้ว

    <CENTER>[​IMG]</CENTER><CENTER>รูปที่ 2 ขั้นตอนของการกรองน้ำให้สะอาด </CENTER>
    6. วิธีกรอง

    <DD>ก. เทน้ำลงในโอ่งใบที่ 1 ใส่คลอรีนประมาณ 1 ช้อนชาและแกว่งสารส้ม (น้ำที่เทลงในโอ่งจะเป็นน้ำที่เสีย คือ สกปรกซึ่งอาจนำมาจากตามแม่น้ำลำคลอง)
    <DD>ข. น้ำจะถูกกรองโดยโอ่งใบที่ 2 ผ่านกรวดและทรายเอ่อ ขึ้นสวนทางกับแรงดึงดูดของโลก และไหลออกทาง สายยางที่ปากโอ่งใบที่ 2 ไปยังก้นโอ่งใบที่ 3
    <DD>ค. น้ำจะถูกกรองจากโอ่งใบที่ 3 เช่นเดียวกับโอ่งใบที่ 2
    <DD>ง. น้ำที่ออกจากโอ่งใบที่ 3 เราดื่มได้เลย จำนวนน้ำที่ได้ ประมาณ 60-70 ลิตรต่อวัน
    7. วิธีล้างโอ่งกรอง

    <DD>ถอดสายยางตรงขั้วต่อออก ปล่อยน้ำจากก้นโอ่งกรองที่ 2 และ 3 ออกจนหมดน้ำขุ่นเท่านั้น
    <DD>ด้วยวิธีการง่าย ๆ เช่นนี้ เราก็สามารถได้น้ำที่สะอาด น้ำที่ ผ่านขั้นตอนเหล่านี้มาแล้วสามารถนำไปดื่มได้ทันที
    <DD>นอกจากจะช่วยให้ประโยชน์แก่ผู้ประสบอุทกภัยน้ำท่วม แล้ว เครื่องกรองน้ำแบบง่าย ๆ นี้สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ดีสำหรับผู้ที่ บ้านอยู่ตามริมแม่น้ำ ลำคลอง หนอง บึง โดยเฉพาะอย่างยิ่งที่น่าใช้มากที่สุด คือผู้ที่อาศัยตามหมู่บ้านที่สูบน้ำบาดาลขึ้นมาใช้ หรือถ้าอยู่รวมกันเป็นกลุ่ม อย่างใกล้ชิด เช่น หมู่บ้านจัดสรร หรือหมู่บ้านที่มีโครงสร้างสนิทสนมกัน มากตามแบบไทย ๆ ก็อาจดัดแปลงร่วมใจกันสร้างเครื่องกรองน้ำสำหรับ ชุมชนขนาดย่อมได้ โดยช่วยกันสละเงินคนละเล็กคนละน้อย แล้วช่วยกันดู แลรักษา ตัวอย่างที่ทำกันมาแล้วเช่น เช่นที่อำเภอหัวไผ่ จังหวัดอ่างทอง และ ที่โรงเรียนสลัมคลองเตย ซึ่งปรากฏว่า มีน้ำสะอาดบริโภคกันอย่างทั่วถึง

    <CENTER>โครงการเกลือคุณภาพ น้ำปลาคุณภาพ น้ำดื่มสะอาด ศิริราช 21 </CENTER><CENTER>[​IMG]</CENTER></DD></TD></TR></TBODY></TABLE><!--Address Bar --><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="80%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle>
    <HR color=#cc3366 SIZE=1></TD></TR></TBODY></TABLE>
    ที่มา http://www.tistr.or.th/t/publication/page_area_show_bc.asp?i1=55&i2=26
     
  9. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    การสร้างที่เก็บน้ำด้วยไม้ไผ่


    <CENTER>[​IMG] </CENTER><CENTER> </CENTER>
    <DD>เครื่องสานจากไม้ไผ่ไม่ว่าจะเป็นรูปร่างอย่างไรก็ตามสามารถทำ ให้เป็นภาชนะสำหรับเก็บน้ำได้ โดยการนำมาฉาบด้วย “ฟลิ้นโค้ท” ซึ่งเป็น สารผสมที่ทำมาจากยางมะตอยและสารยึดเหนี่ยวหลายชนิด เป็นของเหลว ที่แห้งเร็วมีคราบเหนียว ผสมน้ำได้ แต่เมื่อแห้งแล้วไม่ละลายน้ำ ทนน้ำและ ทนทานต่อความร้อน เย็น ไม่ละลายเมื่อถูกแดดเหมือนยางมะตอย และไม่ ผุกรอบเหมือนชัน จึงมีความทนทานและมีราคาถูก ส่วนเครื่องสานไม้ไผ่ ควรสานให้ทึบที่สุด เพื่อให้ฉาบฟลิ้นโค้ทได้ง่าย
    วัสดุและอุปกรณ์

    <DD>1. เครื่องสานด้วยไม้ไผ่ตามขนาดที่ต้องการ
    <DD>2. ฟลิ้นโค้ทชนิดผสมน้ำหาซื้อได้ตามร้านขายปุ๋ย ขายสีทาบ้าน หรือยาฆ่าแมลงหรือตามปั๊มน้ำมันเชลล์ทั่วไป
    <DD>3. ผ้าฝ้ายเป็นผ้าเก่าหรือใหม่ก็ได้ หรือกระดาษสา ถ้าหาไม่ได้ก็ ใช้เศษกระดาษทั่วไปแทนก็ได้
    <DD>4. แปรงสำหรับใช้ทา หรือจะใช้มือก็ได้

    <CENTER>ภาพตัวอย่างเครื่องสาน </CENTER><CENTER>[​IMG] </CENTER>วิธีทาฟลิ้นโค้ทบนเครื่องสาน
    <DD>เริ่มทางด้านในก่อนตามลำดับดังนี้
    <DD>1. ใช้ฟลิ้นโค้ทผสมน้ำเล็กน้อยทาบาง ๆ ให้ทั่วเป็นชั้นแรก นำไป ผึ่งแดดให้พอหมาด
    <DD>2. ใช้ฟลิ้นโค้ทล้วน ๆ ทาจนทั่วเป็นชั้นที่สอง ผึ่งแดดแห้งพอหมาด แล้วจึงทาชั้นที่สามให้ทึบ
    <DD>3. เอาผ้าฝ้ายตัดเป็นชิ้นในขนาดที่ทำสะดวก ชุบน้ำให้เปียกจนทั่ว บีบน้ำทิ้งแล้วชุบฟลิ้นโค้ท แล้วบุด้านในให้ชายผ้าทับกันให้เรียบร้อย ค่อย ๆ ทำไปทีละชิ้นจนแล้วเสร็จ ถ้าเป็นกระดาษสาไม่ต้องชุบน้ำ เมื่อบุดังนี้ เสร็จแล้วรีบทาทันทีเป็นชั้นที่สี่ แล้วตากให้แห้งพอหมาด ๆ
    <DD>4. ทาฟลิ้นโค้ทล้วน ๆ ทับให้ทั่วเป็นชั้นสุดท้าย
    ด้านนอก : ทาฟลิ้นโค้ทล้วน ๆ ให้ทั่วสักสองชั้น โดยเว้นระยะผึ่ง แดดเหมือนด้านใน ทั้งสองด้านนี้ใช้เวลาประมาณ 4 ชม. เมื่อเสร็จเรียบร้อย ทุกอย่างแล้ว ให้ตากแดดทิ้งไว้สัก 1 วัน ก็นำมาใส่น้ำได้ น้ำจะไม่มีพิษหรือกลิ่นที่เป็นอันตราย ดื่มหรือใช้ได้ตามความต้องการ
    <DD>ข้อดีของที่เก็บน้ำแบบนี้คือ ราคาถูกเพราะสานได้เอง มีน้ำหนักเบา ตกไม่แตก ทนทานต่อแดดฝน กันปลวกมอดได้ดีกว่าเครื่องสานอื่น ๆ และ ซ่อมแซมง่ายเมื่อเกิดการรั่วซึม
    ข้อควรระวัง
    <DD>เมื่อฟลิ้นโค้ทเปื้อนเสื้อผ้า ต้องรีบขยำน้ำทันที ถ้าปล่อยให้แห้งต้อง ซักด้วยน้ำมันก๊าซ อย่าใช้ภาชนะนี้ใส่น้ำมัน เพราะฟลิ้นโค้ทแบบผสมน้ำนี้ สามารถละลายได้ในน้ำมัน ฟลิ้นโค้ทที่เหลือใช้ควรเก็บไว้ในที่ปกปิดมิดชิด ถ้าเก็บดีจะนำมาใช้ได้อีก ไม้ไผ่ที่นำมาสานต้องมีอายุแก่พอเหมาะที่จะใช้ งานได้ดี เพื่อป้องกันมอด ฝีมือสานก็ต้องดีพอ และถ้าทำขนาดใหญ่ควร มีโครงแข็งแรงเพิ่มขึ้น เมื่อยังไม่แห้งสนิท อย่าให้ถูกน้ำหรือตากฝน

    <CENTER>เพื่อนเกษตร 6(9), 2522 </CENTER>
    <CENTER>[​IMG] </CENTER></DD><CENTER> </CENTER><CENTER>ที่มา http://www.tistr.or.th/t/publication/page_area_show_bc.asp?i1=55&i2=24</CENTER>
     
  10. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    <DD>เชื้อเพลิงเขียว


    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    <DD>ชาวชนบทของไทยเรากำลังเริ่มจะประสบกับภาวะวิกฤติเกี่ยวกับ เรื่องการขาดแคลนฟืนและถ่านไม้ ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงหลักในการใช้หุงต้ม ประกอบอาหาร จากรายงานผลการสำรวจด้วยดาวเทียมของสำนักงาน- คณะกรรมการวิจัยแห่งชาติได้เปิดเผยข้อเท็จจริงว่า ในจำนวนเนื้อที่ของ ประเทศ 321.32 ล้านไร่ มีป่าไม้เหลืออยู่เพียง 57.84 ล้านไร่ คิดเป็น ร้อยละ 18 ซึ่งในทางวิชาการแล้วควรจะมีป่าไม้ร้อยละ 40 ดังนั้น จึงจำเป็น ต้องระดมปลูกป่าเพิ่มขึ้นอีกประมาณ 70 ล้านไร่ และร้อยละ 90 ของไม้ที่ ถูกตัดโค่นทำลายนั้นจะเป็นไม้ที่นำไปใช้ทำฟืนและเผาถ่าน ด้วยเหตุนี้เอง กรมป่าไม้ร่วมกับสำนักงานพลังงานแห่งชาติโดยได้รับความร่วมมือทาง วิชาการจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ได้ทำการศึกษาและวิจัย และสามารถ ประดิษฐ์เตาหุงต้มที่ใช้ถ่านและฟืนเป็นเชื้อเพลิงให้มีประสิทธิภาพสูง ไม่ เปลืองถ่านและฟืน อันจะเป็นการลดการตัดไม้ทำลายป่าลงโดยทางอ้อม
    <DD>ได้มีหลายหน่วยงานที่พยายามประดิษฐ์คิดค้นเชื้อเพลิงใหม่ ๆ มา ทดแทนฟืนและถ่าน ซึ่งนับได้ว่าเป็นมาตรการหนึ่งที่จะช่วยลดการตัดไม้ ทำลายป่า เช่น สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วท.) ได้ประดิษฐ์เชื้อเพลิงแข็งจากวัสดุเหลือทิ้ง เช่น แกลบ ขี้เลื่อย กากอ้อยเปลือกถั่ว ขุยมะพร้าว และใบไม้แห้ง เป็นต้น แต่ในการอัดเชื้อเพลิงจาก วัสดุแห้งนี้จำเป็นจะต้องใช้เครื่องอัดที่มีราคาแพง และเหมาะสมที่จะผลิต เป็นอุตสาหกรรม เพื่อการค้ามากกว่าจะผลิตเพื่อใช้ในครัวเรือน
    <DD>ความสำเร็จที่มีคุณค่าชิ้นหนึ่งได้แก่ การประดิษฐ์ถ่านหรือฟืนหุง ข้าวชนิดแห้งจากเศษพืชสดขึ้นไว้ใช้ในครอบครัวโดยไม่ต้องลงทุนใช้เครื่อง จักรราคาแพง ๆ ใช้แต่แรงคนเท่านั้น เชื้อเพลิงชนิดนี้มีชื่อว่าเชื้อเพลิงเขียว ซึ่งเป็นเชื้อเพลิงที่ให้ค่าความร้อนสูงกว่าฟืน แต่ต่ำกว่าถ่านเล็กน้อย
    วิธีทำ

    <DD>1. พืชที่ใช้ทำเชื้อเพลิงเขียว ได้แก่ วัชพืชต่าง ๆ เช่น หญ้าขจรจบ หญ้ายาง หญ้าคา ผักตบชวา ไมยราบ(ธรรมดา) โคกกระสุน โสน และ ใบยูคาลิปตัส เป็นต้น นำส่วนของพืชสดเหล่านี้ทั้งใบ ต้น กิ่ง มาสับให้เป็น ชิ้นเล็ก ๆ ถ้าเป็นหญ้าที่ตัดด้วยเครื่องตัดสนามสามารถนำไปอัดได้ทันที ส่วนพืชที่มีต้นแก่เหนียว แข็ง อาจจะทุบเสียก่อนแล้วจึงนำไปสับ ควรเลือก ต้นพืชขนาดเล็กที่ง่ายต่อการสับและจับเป็นแท่งเวลาอัด
    <DD>2. นำชิ้นส่วนที่สับแล้วใส่ลงในกระบอก ซึ่งอาจจะทำด้วยท่อประปา ท่อเหล็ก ท่อพีวีซี ฯลฯ ที่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 2-3 ซม. ยาว 15-20 ซม. แล้วตำหรือกระทุ้งด้วยแท่งเหล็กที่มีเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1.5-2.5 ซม. เหล็กกระทุ้งนี้ควรจะเป็นเหล็กกลมปลายทู่ ยาวกว่ากระบอกเล็กน้อยและ ปลายที่ใช้ถือควรทำเป็นรูปตัวที (T) เพื่อสะดวกในการจัด เมื่อตำหรือกระ- ทุ้งจนเกิดยางเหนียวทำให้ส่วนของพืชจับเกาะเป็นแท่ง ถ้าพืชมีน้ำยางเหนียว มาก จะได้แท่งเชื้อเพลิงยาว แต่ถ้ายางน้อยการอัดตัวจะยากขึ้น แท่งเชื้อ- เพลิงที่ได้มักจะสั้น
    <DD>3. คว่ำปากกระบอกลง แล้วใช้แท่งเหล็กดันเอาแท่งเชื้อเพลิงออก ทางด้านล่างของกระบอก จะได้แท่งเชื้อเพลิงที่มีความยาว 20-25 ซม. (สำหรับพืชที่มียางเหนียวมาก)
    <DD>4. นำแท่งเชื้อเพลิงเขียวไปผึ่งแดดให้แห้ง ใช้เวลา 3-4 วัน แท่ง เชื้อเพลิงที่แห้งดีจะมีความชื้นเหลืออยู่ประมาณร้อยละ 4-5 แท่งเชื้อเพลิง ที่มีความชื้นสูงกว่าร้อยละ 5 ไม่ควรนำมาใช้เพราะมีควันรบกวนมาก วิธี การที่จะสังเกตได้ว่าแท่งเชื้อเพลิงมีความชื้นสูงกระทำได้โดย นำแท่งเชื้อ- เพลิงห่อด้วยถุงพลาสติก แล้วปิดปากถุงให้สนิท นำไปตากแห้งสักระยะหนึ่ง เมื่อมีไอน้ำเกิดขึ้นในถุงพลาสติกก็ไม่ควรใช้แท่งเชื้อเพลิงนั้น แต่ควรนำไป ผึ่งแดดให้แห้งดีเสียก่อน จึงนำไปใช้

    <CENTER>[​IMG] </CENTER>
    <DD>การเก็บรักษาเชื้อเพลิงเขียว เมื่อเชื้อเพลิงแห้งดีแล้ว ควรเก็บใส่ถุง พลาสติกรัดปากถุงให้แน่น หรือปิดถุงด้วยเครื่อง เพื่อป้องกันความชื้นเข้า แล้วเก็บไว้ในที่แห้ง

    เตาที่ใช้ในการหุงต้ม

    เตาที่ใช้ในการหุงต้ม ควรจะเป็นเตาที่มีการระบายอากาศดี ถ้าใช้ เตาพื้นบ้านควรเป็นเตาที่รังผึ้งสูง เพราะจะมีการระบายอากาศดีกว่าเตาที่ มีรังผึ้งต่ำ หรือจะใช้เตาที่ออกแบบเฉพาะก็ได้ โดยใช้เตาโลหะที่ประกอบ ด้วยทรงกระบอก 2 ชั้นที่มีตะแกรงที่ด้านล่างของเตาและมีปล่องที่ถอดเข้า ออกได้ เตาแบบนี้มีผลดีในเรื่องการระบายอากาศและการเผาไหม้ของเชื้อ เพลิงเขียวในแง่ที่เกรงว่าจะมีควันรบกวน ในระยะต้นของการติดไฟ ถ้าเชื้อ- เพลิงชื้น ปล่องจะช่วยดูดควันออกไป และเมื่อเชื้อเพลิงแห้งดีแล้ว ควันจะ หมด เราก็อาจจะถอดปล่องออกได้

    <CENTER>ข่าวสารเกษตรศาสตร์ 29(6), 2528 </CENTER>
    <CENTER>[​IMG]</CENTER></DD><CENTER> </CENTER><CENTER>ที่มา http://www.tistr.or.th/t/publication/page_area_show_bc.asp?i1=56&i2=3</CENTER>
     
  11. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    <TABLE width=500 align=center><TBODY><TR><TD><DD>ถังหมักก๊าซชีวภาพทำจากโอ่งน้ำ

    <CENTER>[​IMG] </CENTER>
    <DD>ได้มีผู้คิดดัดแปลงทำถังหมักมูลสัตว์เพื่อให้เกิดก๊าซชีวภาพหลาย แบบมาแล้วด้วยกัน เช่น แบบก่ออิฐถือปูน แบบถังน้ำมันส้วมมาเชื่อม ต่อ ๆ กัน แบบใช้ยางในรถยนต์ แบบใช้ถุงยางขนาดใหญ่ และแบบถังน้ำ- มันเบนซินขนาด 200 ลิตร เป็นต้น ปัจจุบันเกษตรกรในจังหวัดนครปฐม หลายรายด้วยกันได้ดัดแปลงใช้โอ่งน้ำทำถังหมักสูตร และใช้ได้ผลดีมาแล้ว เนื่องจากสะดวกและประหยัด สำหรับผู้ที่มีความรู้ทางช่าง อาจจะปั้นโอ่งไว้ ใช้เพื่อการนี้ได้เองอีกด้วย
    วัสดุและอุปกรณ์ที่ใช้
    <DD>ก. ที่หมักมูลสัตว์
    <DD>1. โอ่งขนาด 1.20-1.60 ลูกบาศก์เมตร
    <DD>2. ถังส้วมหล่อด้วยคอนกรีต ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง .80 เมตร สูง .40 เมตร หนา 3 ซม. 2 ถัง
    <DD>3. ฝาปิดโอ่งหล่อด้วยคอนกรีต เส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ ปากโอ่ง หนา 4 ซม. 2 ฝา
    <DD>4. ท่อซีเมนต์ใยหิน ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 4 นิ้ว ยาว 1.50 และ 0.60 เมตร อย่างละ 2 ท่อน
    <DD>5. เหล็กเส้น ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3/8 นิ้ว ยาว 1 เมตร 1 ท่อน

    <DD>ข. ถังเก็บก๊าซ
    <DD>1. แผ่นเหล็กขนาดกว้าง 4 ฟุต ยาว 8 ฟุต หนา 1.5 มม. 2 แผ่น
    <DD>2. ท่อเหล็กเหนียว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 นิ้ว ยาว 1.8 เมตร 1 ท่อน
    <DD>3. เหล็กเส้นสำหรับทำโครงขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3/8 นิ้ว ยาว 10 เมตร 2 ท่อน
    <DD>4. สีทารองพื้น สีแดง 1/2 แกลลอน
    <DD>5. สีทาชั้นนอก 1/2 แกลลอน
    <DD>6. ทินเนอร์ 1 แกลลอน
    <DD>7. วัสดุเชื่อมเหล็กขนาด 2.6 มม. 1 ท่อน
    <DD>ค. ที่ขังน้ำ
    <DD>1. ถังส้วมหล่อด้วยคอนกรีตขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1.20 เมตร สูง .50 เมตร หนา 3 ซม. 3 ถัง
    <DD>2. ท่อเหล็กเหนียว ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 1/2 นิ้ว ยาว 1.5 เมตร 1 ท่อน และขนาด 1/2 นิ้ว ยาว 5 เมตร 1 ท่อน
    <DD>3. เหล็กเส้นขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3/8 นิ้ว ยาว 2 เมตร 1 ท่อน
    ข้อสังเกต <DD>ท่อที่ใส่มูลสัตว์เข้าถังนี้จะอยู่ในระดับน้ำ ส่วนท่อระบายกากนั้นจะ อยู่เหนือระดับน้ำ โอ่งนี้จะต้องปิดให้ดีและมีท่อเหล็กต่อออกมาทางด้านบน จากท่อเหล็กนี้จะมีสายยางเชื่อมโยงไปยังถังเก็บและเตาอีกทีหนึ่ง จำนวน โอ่งที่ใช้ขึ้นอยู่กับปริมาณมูลสัตว์และความต้องการในการใช้ก๊าซ

    <DD>อนึ่ง มูลส้ตว์ที่นำมาใช้จะต้องผสมน้ำในสัดส่วนที่เท่ากันก่อนใส่ใน ถังหมัก และเพื่อเร่งให้เกิดก๊าซเร็วขึ้นให้ใส่ไม้รวกตัดเป็นท่อนสั้น ๆ ยาว ประมาณ 2 ซม. จำนวนประมาณ 6,000 ท่อนลงไปด้วย

    <CENTER>ผู้สนใจ โปรดติดต่อสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่กรมพัฒนาและ </CENTER><CENTER>ส่งเสริมพลังงาน เชิงสะพานกษัตริย์ศึก กทม. โทร.223-0021-9 <CENTER>[​IMG]</CENTER></CENTER></DD></TD></TR></TBODY></TABLE>

    ที่มา http://www.tistr.or.th/t/publication/page_area_show_bc.asp?i1=56&i2=7
    <!--Address Bar -->
     
  12. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    <TABLE cellPadding=10 width=550 align=center bgColor=#ffffe6 border=1><TBODY><TR><TD width=804>เตาหุงต้มประสิทธิภาพสูง


    <DD>เตาอั้งโล่ เป็นเตาหุงต้มที่คนไทยคุ้นเคยมานาน แม้กาลเวลาล่วงเข้า สู่สมัยที่เทคโนโลยีรุ่งเรือง เตาแก๊ส เตาไฟฟ้า เตาไมโครเวฟ ถูกประดิษฐ์ขึ้น และถูกนำเสนอให้คนไทยได้เลือกใช้กันอย่างแพร่หลาย นัยว่าเพื่อความ สะดวก สะอาด ประหยัด และมีรสนิยม เมื่อมองอย่างผิวเผินคล้ายว่าปัจจุบัน เตาอั้งโล่คงมีผู้ใช้น้อยเต็มที แต่เชื่อไหมว่าความจริงไม่ได้เป็นเช่นนั้น เพราะจากรายงานการสำรวจที่บริษัท พัฒนาประชากร จำกัด นำเสนอกรม- พัฒนาและส่งเสริมพลังงาน กระทรวงวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีและสิ่งแวด-ล้อม เมื่อปี พ.ศ. 2540 พบว่าการผลิตเตาอั้งโล่เพื่อสนองความต้องการของ คนไทยยังมีมากถึงเดือนละประมาณ 540,000 ใบ โดยสัดส่วนของการใช้ มีมากในชนบท

    <DD>สิ่งที่น่าเป็นห่วงก็คือ เตาอั้งโล่เป็นเตาที่ต้องใช้ฟืนและถ่านเป็นเชื้อ- เพลิง เมื่อมีการใช้เตาอั้งโล่กันมาก ย่อมแน่นอนว่าการตัดไม้สำหรับมาทำ ฟืนและถ่านต้องมีมากตามปริมาณการใช้เตา ถ้าไม้ที่สามารถตัดได้โดยถูก ต้องตามกฎหมายหมดไป การบุกรุกตัดไม้ในเขตป่าหวงห้ามก็มีโอกาสเกิด ขึ้นได้ ปัญหาของประเทศไทยขณะนี้คือ ป่าไม้ซึ่งเป็นทั้งต้นน้ำ ลำธาร ที่อยู่ของสัตว์ป่า แหล่งอาหารของคนและสัตว์ แหล่งรักษาสมดุลทางธรรมชาติที่ ช่วยให้บรรยากาศของโลกพอเหมาะ ให้สิ่งมีชีวิตสามารถดำรงชีวิตอยู่ได้ถูก ทำลายไปมากด้วยสาเหตุนานาประการ จนหลายฝ่ายต้องช่วยกันออกมา รณรงค์ให้รักษาป่าและปลูกป่ากันมากขึ้น ดังนั้น หากยังปล่อยให้มีการใช้ฟืน และถ่านในปริมาณมากต่อไป โดยไม่มีการควบคุม ป่าอาจหมดไปจากประ- เทศไทย ถึงเวลานั้นคนไทยก็คงต้องมีชีวิตอยู่อย่างปกติสุขไม่ได้เช่นกัน

    <CENTER>[​IMG] </CENTER>
    <DD>เตาหุงต้มประสิทธิภาพสูง เป็นแนวทางความคิดแบบพบกันครึ่งทาง ระหว่างผู้ต้องการรักษาป่าและผู้ต้องการใช้ฟืนและถ่าน เป็นความร่วมมือ ของหลายหน่วยงาน อาทิ กรมป่าไม้ กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน และผู้ผลิตเตาหุงต้มในประเทศไทย

    <DD>เตาหุงต้มประสิทธิภาพสูงคือ เตาอั้งโล่ที่ถูกปรับปรุงรูปทรง โดยใช้ หลักวิชาการเข้ามาช่วย ทำให้รูปร่างเพรียว สวยงามมากขึ้น ทนทานมากขึ้น วัสดุมีคุณภาพดีขึ้น จุดไฟติดเร็วขึ้น ไม่มีควันและก๊าซพิษที่เป็นอันตรายต่อ ผู้ใช้ หุงต้มสุกเร็ว เก็บความร้อนได้นาน สามารถวางหม้อหรือภาชนะประกอบอาหารได้อย่างพอดีถึง 9 ขนาด ที่สำคัญคือประหยัดฟืนและถ่านได้ มากกว่าเตาอั้งโล่ธรรมดาถึงร้อยละ 15-20 อธิบายง่าย ๆ คือ เตาหุงต้ม ประสิทธิภาพสูง 1 เตา ใช้ถ่านน้อยกว่าเตาอั้งโล่รุ่นเก่าประมาณ 151 กิโล กรัมต่อปี ถ้าถ่านกิโลกรัมละ 5 บาท ก็สามารถประหยัดเงินได้ถึงปีละ 755 บาท

    <DD>เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพและความประหยัดระหว่างเตา อั้งโล่ธรรมดาและเตาหุงต้มประสิทธิภาพสูง เตาหุงต้มประสิทธิภาพสูงเหนือ กว่ามาก ถึงแม้ว่าจะมีราคาต่อหน่วยค่อนข้างแพง แต่ก็ได้ผลคุ้มค่าอย่าง ชัดเจน

    <DD>เมื่อเปรียบเทียบประสิทธิภาพและความประหยัดระหว่างเตา อั้งโล่ธรรมดาและเตาหุงต้มประสิทธิภาพสูง เตาหุงต้มประสิทธิภาพสูงเหนือ กว่ามาก ถึงแม้ว่าจะมีราคาต่อหน่วยค่อนข้างแพง แต่ก็ได้ผลคุ้มค่าอย่าง ชัดเจน

    <DD>ชื่อเสียงของเตาหุงต้มประสิทธิภาพสูงมิได้รู้จักกันเฉพาะในประ- เทศไทยเท่านั้น ประเทศเพื่อนบ้านของไทย เช่น ลาว และกัมพูชา ก็รู้จักและ สนใจเตาชนิดนี้กันมาก และมองว่าเป็นเทคโนโลยีที่เหมาะสมและมีประโยชน์ต่อการพัฒนาประเทศของเขา ถึงกับเชิญเจ้าหน้าที่ของกรมพัฒนาและ ส่งเสริมพลังงานไปฝึกอบรมการปั้นเตาให้แก่ผู้ผลิตเตาในประเทศเขา ทั้งยัง สนับสนุนให้มีการผลิตออกขายอย่างเป็นล่ำเป็นสัน หัวหน้านำขบวนเจ้า- หน้าที่ฝ่ายไทยไปเผยแพร่เตาประสิทธิภาพสูงครั้งนี้คือ คุณเรืองชัย สงสำเภา หัวหน้าศูนย์พัฒนาและเผยแพร่พลังงานจังหวัดพิษณุโลก และคุณเสรี กังวานกิจ หัวหน้าศูนย์พัฒนาและเผยแพร่พลังงาน จ.เชียงใหม่ ซึ่ง 2 ท่าน นี้ได้เล่าว่า ทั้ง 2 ประเทศให้ความสำคัญกับการฝึกอบรมปั้นเตาในครั้งนี้พอ สมควร ในประเทศลาว หลังจากฝึกอบรมแล้วรัฐบาลได้ส่งเสริมให้มีการ ผลิตทันที แล้วยังรับซื้อเตาจากประเทศผู้ผลิต 1,000 ใบทันทีเช่นกัน เตาหุงต้มประสิทธิภาพสูงที่ผลิตในลาวทุกใบได้รับการรับรองจาก มหาวิทยาลัยแห่งชาติลาวและในระยะเวลาไม่กี่เดือน ลาวก็ขายเตาชนิดนี้ ภายในประเทศได้ถึงเกือบ 30,000 เตา

    <DD>สำหรับในประเทศกัมพูชา คณะเจ้าหน้าที่ไทยถูกเชิญไปฝึกอบรม การปั้นเตาที่พนมเปญ โดยได้นำผู้มีอาชีพผลิตเตาหุงต้มขายเข้าฝึกอบรม ประมาณ 20 คน และได้แจกประกาศนียบัตรแก่ผู้ผ่านการฝึกอบรมทุกคน ฟังดูแล้วน่าทึ่งแทนคนไทย ซึ่งเป็นผู้คิดสิ่งประดิษฐ์ชนิดนี้ ในขณะเดียวกัน ก็ไม่อยากให้เพื่อนคนไทยคนอื่น ๆ มองข้ามหรือเห็นว่าสิ่งนี้เป็นสิ่งเล็กน้อยของที่เป็นของคนไทยถูกคิดขึ้นมาโดยตั้งใจให้เกิดประโยชน์แก่คนไทย แม้ ไม่ใช้เทคโนโลยีระดับสูงมาก แต่ก็เหมาะกับสถานการณ์และความเป็นอยู่ ของคนไทยขณะนี้ สมควรได้รับความสนใจพร้อมกับการตอบสนองที่ดี อย่างน้อยเพื่อเป็นกำลังใจแก่เพื่อร่วมชาติที่มีความปรารถนาดีแก่สังคมไทย

    <DD>ท่านใดสนใจข้อมูลเกี่ยวกับการปั้นเตาหุงต้มประสิทธิภาพสูง สอบ ถามรายละเอียดได้ที่ ฝ่ายประชาสัมพันธ์ กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน เชิงสะพานกษัตริย์ศึก (ยศเส) โทร.2230021-9 ต่อ 432 หรือ 223-2322

    <DD>ส่วนค้นคว้าและพัฒนาพลังงาน สำนักศึกษาค้นคว้าและพัฒนา พลังงาน กรมพัฒนาและส่งเสริมพลังงาน ถ.พระราม 1 เขตปทุมวัน กทม. 10330 โทร.221-1853 โทรสาร 223-0914
    <DD>ศูนย์ทดลองวิชาการรังสิตฯ จ.ปทุมธานี 14/2 หมู่ 10 ต.คลองหนึ่ง อ.คลองหลวง จ.ปทุมธานี 12120 หรือ ตู้ ป.ณ. 3 โทร.529-0660
    <DD>ศูนย์พัฒนาและเผยแพร่พลังงานภูมิภาค จ.พิษณุโลก 73 หมู่ 3 ต.มะขามสูง อ.เมือง จ.พิษณุโลก 65000 โทร.(055)247-455
    <DD>ศูนย์พัฒนาและเผยแพร่พลังงานภูมิภาค จ.มหาสารคาม ต.ท่าสองคอน อ.เมือง จ.มหาสารคาม 44000 โทร.(046)761-258
    <DD>ศูนย์พัฒนาและเผยแพร่พลังงานภูมิภาค จ.ราชบุรี 178 หมู่ 1 ต.หินกอง อ.เมือง จ.ราชบุรี 70000 โทร.(032)391-124


    <CENTER>[​IMG] </CENTER>
    <CENTER>[​IMG] </CENTER></DD></TD></TR></TBODY></TABLE><!--Address Bar --><TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width="80%" align=center border=0><TBODY><TR><TD vAlign=top align=middle>
    </TD></TR></TBODY></TABLE>
    ที่มา http://www.tistr.or.th/t/publication/page_area_show_bc.asp?i1=76&i2=5
     
  13. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    เครื่องสูบน้ำแบบแผ่นยาง




    <CENTER>[​IMG] </CENTER>
    <DD>ปัญหาที่เกษตรกรในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยมักจะ ประสบอยู่เสมอ ได้แก่ปัญหาการขาดแคลนน้ำ ทั้งเพื่อการเกษตรและเพื่อ การอุปโภคและบริโภค ทำให้การเพาะปลูกพืชในบริเวณภูมิภาคนี้ไม่ได้ผลดี เท่าที่ควร เกษตรกรทั่วไปมีรายได้อยู่ในเกณฑ์ต่ำเมื่อเทียบกับภาคอื่น ๆ การจัดหาเครื่องสูบน้ำที่ประหยัดและสร้างง่าย เป็นความต้องการอย่างยิ่ง ของเกษตรกรผู้ที่มีรายได้น้อย ผู้คิดประดิษฐ์เครื่องสูบน้ำแผ่นยางใช้แรงคน ขึ้นมานี้ได้แก่ นายเสริมศักดิ์ รำจวน วิศวกร 4 แห่งสำนักงานเกษตรภาค ตะวันออกเฉียงเหนือ ขอนแก่น โดยมีจุดประสงค์เพื่อให้เกษตรกรได้มีเครื่อง สูบน้ำที่มีประสิทธิภาพสูงแต่ราคาถูก มีอายุการใช้งานทนทาน และสามารถ เคลื่อนย้ายไปใช้งานตามที่ต่าง ๆ ได้ โดยใช้แรงงานคนเพียง 2 คน ให้ปริมาณน้ำได้สูงถึง 45 ลิตรต่อนาที มีความเหมาะสมสำหรับติดตั้งใช้งาน ในแปลงเพาะปลูกขนาดกลาง ค่าใช้จ่ายสำหรับการประดิษฐ์ประมาณไม่เกิน เครื่องละ 2,000 บาท

    วัสดุและอุปกรณ์ <DD>1. ไม้ขนาด 3.7 x 7.5 ซม. ยาวประมาณ 4.50 เมตร <DD>2. ท่อเหล็กขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3 ซม.ยาวประมาณ 4.50 เมตร <DD>3. เหล็กอาบสังกะสีหนา 1/2 หุน กว้าง 20 ซม. ยาว 94 ซม. 2 แผ่น <DD>4. แผ่นยางหรือยางในรถแทรกเตอร์ หนา 1.5 มม. ขนาด 40 x 70 ซม. <DD>5. แผ่นยางหนา 3 มม. ขนาด 15 x 30 ซม. <DD>6. เหล็กฉากขนาด 3.7 x 3.7 ซม. หนา 1/2 หุน ยาว 38 ซม. <DD>7. เหล็กหนา 1/2 หุน กว้าง 3.7 ซม. ยาวประมาณ 50 ซม. <DD>8. กาวปะวัสดุที่มีคุณสมบัติในการปะยางและปะเหล็กได้ จำนวน 1 กระป๋อง <DD>9. นอตและสกรูขนาดต่าง ๆ ตามความเหมาะสม <DD>10. ท่อน้ำหรือท่อยางขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3 ซม. ยาวประมาณ 30 เมตร

    วิธีทำ <DD>ตัดไม้ขนาด 3.7 x 7.5 ซม. ให้ยาว 2 เมตร จำนวน 2 ท่อน ประกอบ ด้านปลายทั้งสองด้านของไม้ทั้งคู่เชื่อมโยงติดกันด้วยเหล็กฉากขนาด 3.7 x 3.7 ซม. หนา 1/2 หุน ยาว 38 ซม. วางไม้ทั้งคู่ไว้ราบกับพื้น ม้วนเหล็ก อาบสังกะสีที่มีความยาว 94 ซม. กว้าง 20 ซม. ทั้ง 2 แผ่นที่เตรียมไว้ให้ เป็นรูปทรงกระบอก ใช้เหล็กอาบสังกะสีปิดฐานด้านล่างแล้วเชื่อมให้ติดกัน จะได้ถังทรงกระบอก 2 ถัง

    <DD>เจาะรูที่ถังทั้งสองขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3 ซม. ที่ระยะสูงจากก้นถัง5 ซม. เชื่อมรูทั้ง 2 นี้ด้วยท่อเหล็กขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3 ซม. ยาว 16 ซม. โดยให้ฝังท่อเหล็กเข้าไปในรูทั้งสองข้างข้างละ 3 ซม. และที่ปลายท่อทั้ง สองประกบแผ่นยาง หนา 3 มม. ไว้เพื่อเป็นลิ้นชักสำหรับปิด-เปิดท่อ เชื่อมระหว่างถังน้ำและท่อเหล็กให้ยึดติดกัน ที่กึ่งกลางของท่อเหล็กเจาะรู ขนาด 3 ซม. โดยให้ท่อยื่นออกมาในแนวนอนที่ตั้งฉากกับท่อเหล็กเป็นระยะ 20 ซม. ไว้สำหรับเสียบสายยางสูบน้ำที่บริเวณฝากระบอกของถังทั้งสองซึ่ง สูงจากก้นถัง 10 ซม. (รูปที่ 1) เจาะรูขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3 ซม. เชื่อม ยึดกับท่อขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3 ซม. ยาว 3 ซม. แล้วจึงใช้แผ่นยางหนา 3 มม. ประกบทำเป็นลิ้นเพื่อปิด-เปิดปากท่อเวลาเครื่องทำงาน ด้านบน ของถังทั้งสองปิดให้สนิทด้วยแผ่นยางในรถแทรกเตอร์โดยใช้กาวเป็นวัสดุยึด และทำให้แน่นอีกครั้งด้วยสกรู

    <DD>นำถังทั้งสองวางบนไม้สองท่อนซึ่งวางรออยู่แล้ว โดยถังคู่นี้ยึดติด บนไม้ด้วยนอตยึดทั้งสองด้าน

    <DD>ตัดท่อเหล็กขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 3 ซม. จำนวน 4 ท่อน ท่อนที่ 1 และท่อนที่ 2 ยาวท่อนละ 75 ซม. ท่อนที่ 3 ยาว 90 ซม. และท่อนที่ 4 ยาว 110 ซม. ท่อนเหล็กทั้งสี่ท่อนเชื่อมโยงกันด้วยนอตดังแสดงในรูป ซึ่งท่อนที่ยาว 110 ซม. เป็นแขนของเครื่องสูบ ส่วนท่อนที่ยาว 75 ซม. ทั้งสองท่อนเป็นแกนดึงและกดแผ่นยางบนถังทั้งคู่ แกนนี้เชื่อมติดกับแผ่น ยางด้วยกาวและสกรู

    <DD>เครื่องสูบน้ำที่ประกอบเสร็จแล้วนี้ใช้แรงงานคนเพียง 2 คน เพื่อโยก แขนของเครื่องสูบขึ้นลงในการสูบน้ำ สถานที่ตั้งเครื่องสูบน้ำต้องเป็นริมบ่อ

    <CENTER>[​IMG] </CENTER>
    ริมสระ ริมคลอง หรือริมคูส่งน้ำชลประทานที่ผิวดินริมบ่อหรือคลองดังกล่าว ต้องราบเรียบ เพื่อวางเครื่องได้ในระดับสม่ำเสมอ นำสายยางสวมเข้าที่ปลาย ท่อน้ำเข้า แล้วนำปลายสายยางจุ่มลงในน้ำ จากนั้นคนทั้งสองคนจึงยืนจับ แขนของเครื่องสูบน้ำคนละด้าน ในขณะที่คนหนึ่งกดแขนของเครื่องสูบน้ำลง อีกคนหนึ่งก็ดึงแขนของเครื่องสูบน้ำให้เคลื่อนที่ขึ้น แผ่นยางก็ถูกดึงให้ยืด ขึ้นด้วย ทำให้เกิดช่องว่างสุญญากาศภายในถัง น้ำที่อยู่ในท่อจึงไหลเข้าสู่ถัง โดยผ่านลิ้นแผ่นยางเข้ามา (รูปที่ 2) เมื่อสภาวะการทำงานที่ขั้นตอนนี้ เป็นไปจนกระทั่งระดับน้ำในถังสูงขึ้นถึงปากท่อทางน้ำออกแล้ว มวลภายใน ถังจึงถูกบีบอัดลง เป็นผลให้น้ำไหลออกมาที่ท่อทางน้ำออก โดยผ่านแผ่นยาง ที่ปิดปากท่ออยู่ และจะคงไหลอยู่ตลอดเวลาที่เครื่องสูบมีการเคลื่อนที่ขึ้นลง

    <DD>ผู้สนใจขอรายละเอียดและคำแนะนำเพิ่มเติมได้ที่ สำนักงาน เกษตรภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ต.ท่าพระ อ.เมือง จ.ขอนแก่น </DD><DD> </DD><DD>ที่มา http://www.tistr.or.th/t/publication/page_area_show_bc.asp?i1=95&i2=1
    </DD>
     
  14. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    ถ่านก้อนจากดินพรุ


    <CENTER>[​IMG] </CENTER>
    <DD>ประเทศไทยมีดินอินทรีย์ (ดินพรุ) จำนวนมากกระจัดกระจายอยู่ ทั่วไปในพื้นที่ลุ่ม ครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศประมาณ 500,000 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในภาคใต้ พื้นที่ที่เป็นดินพรุเหล่านี้ไม่สามารถใช้ประโยชน์ทาง การเกษตรได้ เนื่องจากมีความเป็นกรดสูงและขาดธาตุอาหารจำเป็นสำหรับ พืช แต่ดินพรุมีคุณสมบัติด้านพลังงานสูงพอที่จะนำมาปรับปรุงให้เป็นเชื้อ- เพลิงได้

    <DD>สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วท.) ได้ ทำการวิจัยและพัฒนาการใช้ประโยชน์ดินพรุเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงในครัวเรือน และในอุตสาหกรรม ปรากฏผลดังนี้
    <DD>ดินพรุมีธาตุคาร์บอนในปริมาณค่อนข้างสูง สามารถนำมาแปรรูป ให้เป็นเชื้อเพลิงประเภทถ่านที่มีคุณภาพดีเพื่อใช้เป็นเชื้อเพลิงในการหุงต้ม และในโรงงานอุตสาหกรรมบางประเภทได้ กระบวนการผลิตถ่านก้อนจาก ดินพรุ มีวิธีการดังนี้
    <DD>1. การตากแห้ง ดินพรุที่ขุดขึ้นมาได้นั้นมีความชื้นประมาณ ร้อยละ 70-95 ต้องตากให้แห้งเหลือความชื้นประมาณร้อยละ 15-20 การตากแห้งกระทำโดยการใช้ลานตากเป็นบริเวณกว้างและใช้เวลานาน หรือใช้การอบแห้งในตู้อบ ซึ่งออกแบบและก่อสร้างโดย วท. และใช้เศษขยะ เป็นเชื้อเพลิง
    <DD>2. การกลั่นสลาย นำดินพรุที่มีความชื้นประมาณร้อยละ 15-20 ไปบรรจุในรีทอรต์ (retort) เพื่อแปรรูปโดยอาศัยกระบวนการทางความ ร้อนที่อุณหภูมิประมาณ 500-7000 ซ. ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางเคมี ภายใต้สภาวะไร้ออกซิเจน ซึ่งดินพรุจะสลายตัวให้ก๊าซหลายชนิด เช่น คาร์บอนไดออกไซด์ คาร์บอนมอนอกไซด์ ไฮโดรเจน ไฮโดรคาร์บอน รวมทั้งไอน้ำและสารอินทรีย์ที่มีน้ำหนักโมเลกุลต่ำ ซึ่งจะควบแน่นกลาย สภาพเป็นของเหลวที่เรียกว่าน้ำมันดิน (tar) ส่วนที่เหลือในรีทอรต์ เป็นของ แข็งที่มีธาตุคาร์บอนเป็นองค์ประกอบส่วนใหญ่และมีลักษณะเป็นก้อนขนาด เล็กจนถึงผงละเอียด เรียกว่า ถ่านดินพรุ (char)
    <DD>3. การผสมและการอัดก้อน นำถ่านดินพรุที่ได้จากการกลั่น สลายมาอัดเป็นก้อน โดยผสมกับตัวประสานซึ่งได้แก่ แป้ง น้ำมันดิน พิทช์ (pitch) ถ่านหินชนิดที่มีคุณสมบัติในการจับก้อน (caking coal) และยาง มะตอย เป็นต้น นำถ่านดินพรุที่ผสมตัวประสานแล้วไปอัดก้อนในแบบพิมพ์ ด้วยเครื่องไฮดรอลิก ลักษณะของถ่านอัดก้อนที่ได้เป็นรูปทรงกระบอก มีเส้น ผ่าศูนย์กลางประมาณ 5 ซม. และสูงประมาณ 3-4 ซม. หรือเป็นรูปลักษณะ อื่นได้ตามความต้องการ ทั้งนี้โดยการเปลี่ยนแปลงลักษณะของแบบพิมพ์ เท่านั้น
    <DD>4. การอบให้อยู่ตัว นำถ่านอัดก้อนที่ถอดออกจากแบบพิมพ์แล้ว ไปอบที่อุณหภูมิ 1050 ซ. ประมาณ 1-2 ชม. เพื่อให้อยู่ตัวและนำไปใช้ งานได้

    <DD>ดินพรุบาเจาะจากจังหวัดนราธิวาส มีปริมาณเถ้าค่อนข้างต่ำ มีความเหมาะสมในการผลิตเป็นถ่านดินพรุ ให้ค่าความร้อนประมาณ 6,000-7,000 กิโลแคลอรีต่อ กก.น้ำหนักแห้ง และสามารถใช้เป็นเชื้อเพลิง ทดแทนไม้ฟืนและถ่านได้ดี

    <CENTER>[​IMG] </CENTER><CENTER>ถ่านก้อนดินพรุ </CENTER>
    <DD>ผู้สนใจขอทราบรายละเอียด โปรดติดต่อ ฝ่ายสิ่งแวดล้อมนิเวศวิทยา และพลังงาน สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วท.)</DD><DD> </DD><DD>ที่มา http://www.tistr.or.th/t/publication/page_area_show_bc.asp?i1=95&i2=7
    </DD>
     
  15. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    <TABLE cellSpacing=0 cellPadding=0 width=500 align=center border=0><TBODY><TR><TD>ถังเก็บน้ำฝนแบบปูนฉาบเสริมลวด


    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    <DD>เป็นที่ทราบกันดีอยู่แล้วว่าประชากรประมาณ 17 ล้านคนในภาค ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยนั้นส่วนใหญ่มีฐานะทางเศรษฐกิจ ต่ำเมื่อเปรียบเทียบกับประชากรในภาคอื่น ๆ ของประเทศ ปัญหาที่สำคัญ ประการหนึ่งได้แก่ การขาดแคลนน้ำซึ่งเกิดจากการมีระยะฝนแล้งเป็นเวลา ยาวนานถึง 7-8 เดือน และสภาพดินเป็นดินทรายหรือดินตะกอนปนทราย ซึ่งทำให้ไม่สามารถเก็บน้ำไว้ได้ ดังนั้น การแก้ไขปัญหาของชาวชนบทด้าน น้ำดื่มจึงมุ่งไปที่การเก็บกักน้ำฝนไว้บริโภค คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหา- วิทยาลัยขอนแก่น ได้ศึกษาและพัฒนาถังเก็บน้ำฝนที่มีความคงทน และง่าย ต่อการก่อสร้างแทนการเก็บน้ำฝนด้วยโอ่งซีเมนต์ ซึ่งต้องการพื้นที่สำหรับ วางโอ่งมากกว่าแบบปูนฉาบเสริมลวด ถังเก็บน้ำฝนแบบปูนฉาบเสริมลวดนี้ มีราคาถูก มีความคงทนและก่อสร้างง่าย ไม่ต้องการช่างฝีมือแต่ประการใด เหมาะสำหรับใช้ในครัวเรือนและสถานที่ชุมชน เช่น วัดและโรงเรียน

    วัสดุและอุปกรณ์ <DD>- ลวดเบอร์ 14 (เส้นผ่าศูนย์กลาง 2.1 มม.) สำหรับถังน้ำขนาด 6 ลบ.ม. <DD>- ลวดเบอร์ 11 (เส้นผ่าศูนย์กลาง 3.2 มม.) สำหรับถังน้ำขนาด 12 ลบ.ม. <DD>- หิน ทราย ปูนซีเมนต์ น้ำสะอาด - ดินเหนียว ท่อเหล็ก ก๊อกน้ำ เหล็กเส้น ไม้ไผ่

    ขั้นตอนการก่อสร้าง
    <DD>1. ถากหน้าดินออก 5 ซม. เป็นวงกลมให้มีเส้นผ่าศูนย์กลางใหญ่ กว่าขนาดของถัง 25 ซม. ใส่หินและทรายรองพื้น 5 ซม. พร้อมทั้งกระทุ้งให้ แน่นและราดน้ำให้ชุ่ม
    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    <DD>2. เทคอนกรีตที่ฐานชั้นแรกหนา 3-4 ซม. แล้วใช้เท้าย่ำให้แน่น และวางทับด้วยเหล็กเสริมฐานที่ได้เตรียมไว้แล้วพร้อมท่อน้ำทิ้ง
    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    <DD>3. เทคอนกรีตชั้นที่สองทับหนา 3-4 ซม. แล้วใช้เท้าย่ำให้แน่น แต่งผิวให้เรียบและทำรอยบากบริเวณที่มีลวด
    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    <DD>4. ประกอบแบบโครงเหล็กไม้ไผ่บนฐาน โดยใช้ลวดผูกเหล็กมัดให้ แน่น
    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    <DD>5. ใช้เหล็กเส้นดัดเป็นรูป [ 4 เส้นยึดภายในที่ระดับสูงประมาณ 40 ซม. และอีก 4 เส้นยึดที่ระดับสูงประมาณ 1.60 ม. เพื่อให้โครงแบบ แน่นไม่สั่นคลอน
    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    <DD>6. ฉาบดินเหนียวรอบแบบ เพื่อป้องกันไม่ให้ผนังโอ่งติดกับแบบ
    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    <DD>7. ฉาบปูนชั้นที่หนึ่งหนา 2 ซม.
    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    <DD>8. ผูกลวดแนวดิ่งและลวดแนวนอน
    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    <DD>9. ฉาบปูนชั้นที่สองหนา 2 ซม.
    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    <DD>10. คลุมด้วยแผ่นพลาสติกทิ้งไว้ข้ามคืน จึงทำการถอดแบบทำ ความสะอาดภายใน และทำท่อ ก๊อกน้ำ และท่อน้ำล้น
    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    <DD>11. ผูกเหล็กและลวดตะแกรงสำหรับทำฝาครอบ แล้วนำไปไว้ บนถังและผูกให้อยู่กับที่โดยมัดกับลวดที่โผล่จากผนังถัง
    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    <DD>12. โบกปูนฉาบทำฝาครอบ โดยให้คนใช้แผ่นไม้อัดรองรับอยู่ ภายใน
    <CENTER>[​IMG]</CENTER>

    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    <DD>ถังเก็บน้ำฝนแบบปูนฉาบเสริมลวดนี้กำลังเป็นที่นิยมกันอย่าง แพร่หลายในหลายจังหวัดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เช่น ที่จังหวัดอุบล ราชธานีและจังหวัดขอนแก่น ถังน้ำขนาด 6 ลบ.ม. และ 12 ลบ.ม. มีราคา ค่าก่อสร้างประมาณ 1,500 บาท และ 2,800 บาท (ราคา พ.ศ. 2529) ซึ่งถูกกว่าการสร้างถังด้วยวัสดุอื่น ๆ เช่น ถังคอนกรีตเสริมเหล็ก ถังเฟอร์โรซีเมนต์ และถังก่ออิฐถือปูนมาก เป็นที่คาดหมายว่าถังเก็บน้ำฝนแบบปูน ฉาบเสริมลวดนี้จะช่วยบรรเทาปัญหาการขาดแคลนน้ำดื่มในชนบทได้เป็น อย่างดี
    <CENTER>ผู้สนใจขอทราบรายละเอียดเพิ่มเติม โปรดติดต่อขอคู่มือการก่อสร้าง ถังเก็บน้ำฝนแบบปูนฉาบเสริมลวด ได้ที่ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น อ.เมือง จ.ขอนแก่น </CENTER>
    </DD></TD></TR></TBODY></TABLE>
    ที่มา http://www.tistr.or.th/t/publication/page_area_show_bc.asp?i1=95&i2=21
    <!--Address Bar -->
     
  16. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    เตาเผาถ่านขนาดเล็ก




    <CENTER>[​IMG] [​IMG] [​IMG] </CENTER><DD>องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ ได้คิดค้นดัดแปลงเตา เผาถ่าน ซึ่งมีขนาดเล็ก ราคาถูก เหมาะสำหรับผู้มีทุนทรัพย์น้อย สามารถ ย้ายไปยังแหล่งที่มีวัตถุดิบได้ง่าย เตาเผาถ่านแบบนี้ใช้เผาได้ทั้งกิ่งไม้เล็ก ๆ หรือเศษไม้ที่เหลือจากการก่อสร้าง นอกจากนี้ยังใช้เผาถ่านจากกะลามะพร้าวได้เป็นอย่างดีอีกด้วย รายละเอียดเกี่ยวกับเตาและวิธีทำเตามีดังนี้

    ตัวเตา

    <DD>- นำถังน้ำมันขนาดความจุ 200 ลิตร มาเปิดฝาด้านบนออก เก็บ ฝาที่เปิดออกนี้ไว้ใช้ในการเผาด้วย
    <DD>- เจาะรู 4 รู ให้ชิดขอบด้านที่เปิดฝาออกพอให้ท่อน้ำขนาด 1/2 นิ้ว สอดเข้าไปยังถังได้ (ดูภาพประกอบ)
    <DD>- เจาะรูข้างถังอีก 3 รู ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2 นิ้ว เรียงกันลง ในแนวดิ่งให้รูทั้งสามห่างเท่า ๆ กัน และอยู่ห่างจากปากถังประมาณ 6 นิ้ว ใช้เป็นช่องลม
    <DD>- เอาข้อต่อท่อน้ำขนาด 2 นิ้ว มาเชื่อมต่อรูที่เจาะไว้ทั้ง 3 แห่ง และ หาลูกอุดสำหรับข้อต่อ 2 นิ้ว เตรียมไว้ 3 ลูก

    <DD>วัตถุที่จะมาเผา ถ้าเป็นกะลามะพร้าวหรือเศษไม้เล็กๆ น้อยๆ ก็ใช้ เผาได้ทันที แต่ถ้าเป็นไม้ใหญ่ควรผ่าให้เล็กลงไม่เกินขนาดข้อมือ ถ้ายาวมาก ก็ตัดให้สั้นลงประมาณไม่เกิน 1 เมตร ไม้แห้งจะเผาได้ดีกว่าไม้ที่เปียกชื้น
    วิธีเผา

    <DD>1. ตั้งถังให้ช่องลมตรงทางลม แล้วจึงเริ่มจุดไฟในถังด้วยเศษไม้ เล็ก ๆ ก่อน เมื่อไฟสุกดีแล้ว จึงเติมฟืนลงไปจนเต็มถังให้ไฟลุกดีตลอดเวลา ถ้าเป็นกะลามะพร้าวต้องคอยเติมลงไปทีละน้อยให้ไฟลุกดีไม่ดับ

    <DD>2. ใช้กิ่งไม้สดสอดเข้าไปทางช่องลม ช่วยเขี่ยให้ไฟลุกดีไม่อุดตัน จนเห็นว่าช่องลมรูล่างมีถ่านเต็มและไฟลุกสว่างเป็นสีนวลดีแล้วจึงปิดช่อง ลมด้วยลูกอุด ในขณะเดียวกันยังคงเติมฟืนหรือกะลามะพร้าวให้ไฟลุกตลอด เวลา จนถ่านเต็มรูที่สองและไฟลุกสว่างดีแล้ว จึงอุดรูที่สองเช่นเดียวกับครั้ง แรก รูที่สามก็ทำเช่นเดียวกัน และยังคงเติมเชื้อเพลิงอยู่ตลอดเวลา

    <DD>3. เมื่อเห็นว่าถ่านเต็มถังหรือหมดเชื้อเพลิงและไฟลุกสว่างดีจึงเอา ฝาถังปิดลงไป แล้วเอาท่อเหล็กที่เตรียมไว้สอดเข้าไปในรูให้ฝาถังอยู่ใต้ท่อ เหล็ก ยกถังคว่ำบนดินหรือทราย ใช้ดินหรือทรายอุดช่องต่าง ๆ ให้หมด และขันเกลียวลูกอุดให้แน่นไม่ให้อากาศเข้าได้ ถ้ามีรูรั่วใช้ดินเหนียวอุดไว้ แล้วทิ้งไว้ค้างคืน

    <DD>4. วันรุ่งขึ้นเมื่อถังเย็นดีแล้วจึงเทถ่านออกพร้อมทั้งพรมน้ำเล็ก น้อยลงบนถ่านให้ทั่ว ป้องกันไม่ให้ไฟคุขึ้นมาอีก ทิ้งไว้จนเห็นว่าปลอดภัยดี แล้วจึงนำไปเก็บ

    <DD>ถ้าต้องการเผาปริมาณมากอาจเผาพร้อมกันได้ทีเดียวหลายถัง โดย มัดถังรวมกันด้วยลวดกลุ่มละ 4-6 ถัง พยายามให้ช่องลมรับลมได้มากที่สุด การเผาพร้อมกันหลายถังและมัดรวมกันนี้ ช่วยไม่ให้สูญเสียความร้อนข้างถังทำให้การเผาดำเนินไปด้วยดี และถ้าเอาฝาที่เปิดออกวางบนปากถังจะใช้ เป็นที่ตากไม้เปียกชื้นได้ด้วย จนไม้ที่ตากไว้เริ่มลุกไหม้จึงเขี่ยลงถังเผาต่อไป

    <DD>การเผาถ่านวิธีนี้แต่ละครั้งใช้เวลาประมาณ 3-4 ชั่วโมง ถ่านที่ได้จะ เปลี่ยนแปลงไปตามชนิดและสภาพของไม้ที่นำมาเผา แต่ถ้าเป็นกะลามะ-พร้าวจะได้ถ่านประมาณร้อยละ 25 โดยน้ำหนัก ในการเผาถ่านหนึ่งถังต้อง ใช้กะลามะพร้าว ประมาณ 130 กิโลกรัม

    วิธีดูแลรักษาเตา

    <DD>เตาที่ไม่ได้เผาหลาย ๆ วัน ควรชะโลมภายนอกด้วยน้ำมันเครื่องที่ ใช้แล้วเพื่อป้องกันสนิม

    </DD>ส่วนภายในตัวถัง ผงถ่านและน้ำมันดินจะช่วยป้องกันสนิมได้ ถ้า จำเป็นต้องงดใช้หลาย ๆ สัปดาห์ควรทาน้ำมันเครื่องทั้งภายนอกและภายใน และควรมีหลังคาคลุมไว้เพื่อเก็บไว้ใช้นาน ๆ


    <CENTER>[​IMG]</CENTER>
    ที่มา http://www.tistr.or.th/t/publication/page_area_show_bc.asp?i1=55&i2=3
     
  17. เกษม

    เกษม ผู้สนับสนุนเว็บพลังจิต ผู้สนับสนุนพิเศษ สมาชิก Premium

    วันที่สมัครสมาชิก:
    22 พฤศจิกายน 2004
    โพสต์:
    24,696
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +77,193
    บ่อน้ำตื้นเพื่อการเพาะปลูก



    <CENTER>[​IMG]</CENTER><CENTER> </CENTER>
    วิธีเลือกสถานที่ขุดบ่อน้ำตื้น
    <DD>1. ควรเลือกบริเวณที่ดินที่มีต้นไม้ขึ้นเขียวชอุ่ม มีความชุ่มชื้นดี ซึ่ง แสดงให้เราทราบว่ามีแหล่งน้ำใต้ดินดีและอยู่ไม่ลึกนัก
    <DD>2. เลือกบริเวณที่เป็นชั้นทรายหนา มีความชุ่มชื้น หรืออุ้มน้ำได้ดี
    <DD>3. บริเวณที่ดินที่มีจอมปลวกอยู่
    <DD>4. บริเวณที่ดินจำพวกดินลูกรัง
    <DD>5. บริเวณที่ดินที่เป็นแหล่งทำศิลาแลง หรือที่มีศิลาแลงอยู่มาก
    <DD>6. บริเวณที่ดินตามหุบเขา
    <DD>7. บริเวณที่ดินที่เป็นลำห้วยเก่า
    <DD>8. บริเวณที่เป็นลำน้ำเดิมที่ลำน้ำเปลี่ยนทางไปแล้ว
    <DD>9. บริเวณที่ดินที่ไม่ห่างจากที่เคยมีผู้ขุดบ่อตื้นแล้วมีน้ำดีและ ปริมาณมากพอ
    วัสดุที่ใช้ทำบ่อน้ำตื้น

    <DD>1. ถังส้วมซีเมนต์ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง 1 เมตร สูง 35 ซม. จำนวนตามความลึกของชั้นของน้ำใต้ดินและความต้องการน้ำมากน้อย
    <DD>2. เสาไม้หรือต้นไม้ข้างบ่อตื้นเพื่อแทนไม้กระดกผ่อนแรงตักน้ำ ขึ้นไป
    <DD>3. ยางล้อจักรยานเก่า ๆ 1 เส้น อาจจะใช้เชือก เหล็กเส้นหรือ วัสดุอื่น ๆ แทนได้
    <DD>4. ถังน้ำหรือภาชนะสำหรับตักน้ำ ผูกห้อยกับปลายข้างหนึ่งของ ไม้ไผ่
    <DD>5. กระป๋องหรือถังใส่ซีเมนต์ ลูกตุ้มหิน ถ่วงปลายข้างหนึ่งของไม้ไผ่ เพื่อให้ผ่อนแรงยกน้ำขึ้นมาใช้
    <DD>6. รางไม้รับน้ำให้ไหลตกไปยังบ่อพักน้ำยกสูงเท่าพื้นดินเพื่อให้น้ำ มีกำลังในการไหล
    <DD>7. บ่อพักหรือคลองลอยดินเหนียวไปยังแปลงนา เป็นบ่อพักให้น้ำ ผ่านอากาศตกจากรางไม้ ทำให้น้ำมีคุณภาพดีขึ้น และบางส่วนตกตะกอน
    วิธีขุด

    <DD>วิธีขุดอย่างง่าย ๆ โดยขุดดินกว้างกว่าถังเล็กน้อย แล้วเจาะถังส้วม ไว้อย่างน้อย 2 รูตรงกันข้าม แล้วกดถังจมลง ขุดดินภายในออกรอบถังแล้ว ซ้อนวงต่อไปจนพอกับความต้องการ
    <DD>ถ้าต้องการปรับปรุงให้ดีขึ้น อาจติดตั้งเครื่องสูบน้ำหรือกังหันลม เพื่อสูบน้ำใช้ให้สะดวกขึ้น

    <CENTER>ผู้ที่สนใจขอทราบรายละเอียดโปรดติดต่อกรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ </CENTER></DD><DD><CENTER>ที่มา http://www.tistr.or.th/t/publication/page_area_show_bc.asp?i1=55&i2=14</CENTER></DD>
     
  18. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    เช้านี้เน็ตยังเร็ว เลยเซฟข้อมูลของคุณเกษมไว้ มีประโยชน์มากจริงๆ _/\_
     
  19. boko0121

    boko0121 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 กันยายน 2006
    โพสต์:
    1,612
    ค่าพลัง:
    +7,736
    ครับมีประโยชน์มากๆเลย
     
  20. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775
    ต้องขอบคุณพี่เกษมอย่างสูงเลยครับ เลือกข้อมูลมาในแบบที่ใช้ประโยชน์ได้จริงราคาไม่แพง หาวัตถุดิบได้ในท้องถิ่นครับ


    ส่วนรูป แนวพัดของฝุ่นผงกัมมันตรังสี จากอเมริกาของคุณ Zipper พัดข้ามมหาสมุทรแอตแลนติก เข้าสู่ยุโรป เต็มๆครับ แถมยังเกลี่ยปกคลุมทั่วประเทศอเมริกาเองด้วย ไทยเราคงโดนแค่หางๆครับ ไม่นับการใช้นิวเคลียร์โจมตีจีน แล้วลมพัดลงมานะครับ ลองประเมินผลกระทบดูครับ
     

แชร์หน้านี้

Loading...