ดาวหาง, อุกาบาต วัตถุนอกโลกที่คาดว่าจะเข้ามาในโลกช่วง ปีนี้ (2014)

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 7 มีนาคม 2013.

  1. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]

    .
     
  2. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]


    ช่วงวันที่ 21-22 ตค. 2014 นี้โลกเราจะโคจรผ่านสายธารฝุ่นละอองหางของดาวหางฮัลเล่ย์ ซึ่งฝุ่นสะเก็ดดาวที่เห็นจะมีขนาดเล็กจำนวนมากเมื่อปะทะเข้ากับบรรยากาศรอบโลกก็จะลุกไหม้และมองเห็นเหมือนม่านประกายแสง และมีโอกาสเห็นฝนดาวตกด้วย ส่วนดาวหางฮัลเล่ย์จะวนกลับมาอีกรอบในปี 2061.

    .
     
  3. krajoobin

    krajoobin Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    25 มกราคม 2013
    โพสต์:
    14
    ค่าพลัง:
    +29
    ได้ลุ้นกันอีกแล้วเหมือนคราว ison ว่าเราจะได้ผ่านละอองฝุ่นดาวหาง หลังจาก ison ท่าดีทีเหลวทำเอาผิดหวังกันไป มาดูกันว่างานนี้จะมีล้มมวยอีกหรือไม่
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Asteroid.jpg
      Asteroid.jpg
      ขนาดไฟล์:
      449 KB
      เปิดดู:
      75
  4. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681

    แต่ผมว่าต่างกันนะครับ กรณีดาวหาง ISON ไม่พ้นจากการวกกลับหลังเข้าไปยูเทิร์นรอบดวงอาทิตย์ จึงไม่สามารถออกมาถึงวงโคจรของโลกตามที่คาดการณ์ไว้ตั้งแต่แรก ส่วนเดือนนี้โลกเรากำลังจะโคจรตัดผ่านเส้นทางที่ดาวหาง Halley ได้โคจรผ่านไปแล้วเมื่อปี 1986 ครับ

    .
     
  5. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    Asteroid : 2014 UF56
    Flyby : Oct 27 at 21:12 UT.
    Distance: 0.43 LD (0.41 LD from Earth surface)
    Size: 6-21 m

    .
     
  6. kiatp123

    kiatp123 โมฆะแมน

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 พฤษภาคม 2010
    โพสต์:
    3,493
    ค่าพลัง:
    +19,616
    มาบอกว่า ถ้าได้ยินได้เห็นข่าว(ลือ)เรื่อง Six day of darkness
    จะเกิดในเดือนธันวาปีนี้ ขอให้มีสติให้มาก นักดวงอาทิตย์วิทยา
    เรียนมา คิดมาจนหัวจะเท่ากะด้งแล้ว ยังคิดไม่ออกว่ามันจะเกิด
    ได้ยังไง ลือกันว่าพวกขี้โม้ อยากดัง ปล่อยข่าวเรื่องนี้ ว่อนเวป
    ไปหมดแล้ว

    หนักแน่นไว้นะครับ ทำมาหากินกันไป
    คนมันถ้าถึงคราวตาย มันตายเองล่ะครับ
    อะไรก็ฉุดไม่อยู่
    :cool:
     
  7. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681

    เรื่องเก่าๆ เดิมๆ ตั้งแต่ December 2012

    NASA video misinterpreted as ‘3-day total blackout predicted’ | Doubtful News

    Hoax - NASA Predicts Total Blackout of Planet in December



    เวอร์ชั่นปี 2014


    '6 Days Darkness in December 2014' Totally Fake; NASA Confirmed 3 Days Total Darkness Hoax as Well

    .
     
  8. กัลยวรรธน์

    กัลยวรรธน์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 สิงหาคม 2013
    โพสต์:
    41
    ค่าพลัง:
    +103
    คุณฮิ..คะ..ท้องฟ้าหน้าหนาวนี้..สวยสุดๆเลยใช่ไหมคะ..ที่บ้าน..ท้องฟ้าสวยมาก..ดาวพราวเลย..
     
  9. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681

    ครับคุณกัลยวรรธน์ ช่วงปลายฝนต้นหนาว จะมีช่วงจังหวะที่ฟ้าใสไร้เมฆ ถ้าโชคดีเป็นคืนเดือนมืดด้วยแล้วจะสามารถมองเห็นดาวบนท้องฟ้าแบบเต็มๆเลย ผมเคยเห็นที่ภูเขียว ชัยภูมิเมื่อ 15 ปีที่แล้ว ท้องฟ้าสว่างไสวไม่มีที่ว่างเพราะเต็มไปด้วยดวงดาว จนไม่สามารถแยกแยะออกได้ว่าดาวอะไรเป็นดาวอะไร เล่นเอานักดูดาวสมัครเล่นมึนไปเลย เสียดายที่ไม่ได้ถ่ายรูปเพราะพอไปถึงตอนตี5 ยืนดูดาวได้แป๊บเดียวต้องรีบเข้าไปอยู่ในห้องห่มผ้าเพราะหนาวมาก 9 องศา และที่สำคัญมีทากตามพื้นดินเต็มไปหมด ทุกวันนี้มลภาวะมากขึ้นจะหาฟ้าใสๆ คงไม่ง่าย ช่วงหน้าหนาวพระอาทิตย์ขึ้นกับตกดินก็สวยด้วยครับ

    .
     
  10. กัลยวรรธน์

    กัลยวรรธน์ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 สิงหาคม 2013
    โพสต์:
    41
    ค่าพลัง:
    +103
    ขอบคุณคะ..อยากถ่ายรูปได้จังเลย..จะได้เอาให้ดู..บ้านบนดอยไม่มีแสงสีรบกวน..ดาวเต็มฟ้า..ท้องฟ้าโปร่งไร้เมฆ..อากาศเย็นสบายๆๆ..ไม่มีทากค่า..นอนดูได้เต็มที่..
     
  11. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    อิจฉาคนดอยจังครับ เดี๋ยวนี้ได้ขึ้นเหนือปีละ 2-3 เที่ยวเอง :cool:

    .
     
  12. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    [​IMG]
    [​IMG]

    [​IMG]

    ตอนนี้ 2014 UR116 ยังอยู่ห่างจากโลก 4.5ล้าน กม. และจะไม่มีอันตรายใดๆต่อโลกอย่างน้อยอีก 6 ปี ค่อยมาดูว่าขณะที่มันโคจรเข้าใกล้ดาวศุกร์กับดาวอังคาร วงโคจรจะเปลี่ยนไปหรือไม่

    .
     
  13. sujcha

    sujcha สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    13
    ค่าพลัง:
    +12
    แล้วเพราะเหตุใด 2014 UR116 ถึงไม่ได้อยู่ใน Chart ที่เอามาแสดงนี้ครับ
    เป็นเพราะว่า ระยะห่างมันยังไกลเกินไป หรือว่าข้อมูลยังใหม่ Chart ยังไม่ได้ update ?
     
  14. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681

    ที่ไม่อยู่ใน chart เพราะเพิ่งค้นพบและระยะที่ยังห่างมาก

    2014 UR116 เพิ่งค้นพบเมื่อ 27 ตค 2014 ครับ หลังจากศึกษาวงโคจรด้วยข้อมูล 7 วันที่ผ่านมา เพิ่งสรุปเมื่อวาน(4 พย. 2014 )ว่ามันได้เฉียดผ่านใกล้โลกที่สุดเมื่อวันที่ 21 ตค 2014 ที่ระยะ 0.086 AU ( 33.46 LD ) คาบการโคจร 3 ปี ผมว่ายังห่างมาก แต่อนาคตมันไม่แน่นอน เขาบอกว่าอีก 6 ปีมันอาจจะใกล้มากขึ้นหรือไม่ก็ไกลห่างออกไปก็ได้

    [​IMG]

    .
     
  15. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    99942 Apophis

    Discovered 2004 June 19 by R. A. Tucker, D. J. Tholen and F. Bernardi at Kitt Peak.

    Also known as Apep, the Destroyer, Apophis is the Egyptian god of evil and destruction who dwelled in eternal darkness. As a result of its passage within 0.00025 AU ( 0.1 LD ) ~ 38,400 km of the earth on 2029 Apr. 13 ( อีก 13.5 ปี )

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    [​IMG]

    .
     
  16. sujcha

    sujcha สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    6 สิงหาคม 2006
    โพสต์:
    13
    ค่าพลัง:
    +12
    วันสงกรานต์ (13 เม.ย.) ปี พ.ศ.2572 (2029)
    ถ้าดูตาม Orbit Diagram สงสัยว่า 99942 จะชนนะครับ กะประมาณด้วยสายตา คิดแบบมั่ว ๆ ผมว่าด้วยแรงโน้มถ่วงไม่น่ารอด น่าจะชนโลกหรือเปล่าครับ ??
    แต่ถ้าไม่ถึงกับชนโลก แล้วเกิดวงโคจรใหม่ โคจรรอบดวงอาทิตย์ของเรา เทหวัตถุขนาด diameter 325 เมตร (T.Mueller) หรือ 393 เมตร (Rianovosti) เราก็คงจะใช้สูตรการคำนวณตำแหน่งดาวเคราะห์ต่าง ๆ แบบที่ใช้กันมาไม่ได้อีกต่อไปแล้ว และเดาว่าวงโคจรของโลกต้องแกว่ง เคลื่อนที่ควงเป็นเกลียวรอบดวงอาทิตย์แน่ ๆ ครับ
    เอาเป็นว่าอีก 13 ปี 6 เดือน รู้กันครับ :)
     
  17. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    Earth vs. 99942

    ขนาดของโลก เท่ากับ 12,756 กม.
    ขนาดของ 99942 เท่ากับ 0.39 กม.
    โลกมีขนาดใหญ่กว่า 32,700 เท่า
    ระยะห่าง เท่ากับเอาโลกมาวางเรียงกัน 3 ลูก
    ความเร็ว 7.5 กม./วินาที

    นึกภาพกันเอาเองนะครับ

    ก่อนถึงวันนั้นยังไม่รู้เลยว่าจะมีเหตุการณ์อะไรเกิดขึ้นก่อนรึปล่าว Only time will tell..

    .
     
  18. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681
    งานนี้ หินสุดๆ รอลุ้นกันครับ

    และแล้ววันนี้ก็มาถึง 12 พย. 2014 ยาน Rosetta ได้ปล่อยยานลูกชื่อ Philae เพื่อลงจอดบนดาวหาง 67P/C-G เมื่อเวลา 9:03 GMT ( 16:03 น. เวลาประเทศไทย ) และคาดว่าจะใช้เวลา 7 ชั่วโมง กว่าจะลงจอดบนพื้นผิวดาวหาง

    Rosetta/Philae อยู่ห่างจากโลก 500ล้าน กม. แสงใช้เวลาเดินทาง 28 นาที คาดว่าสัญญาณวิทยุเพื่อแจ้งสถานะการลงจอดจะมาถึงโลก 16:30 GMT (23:30 น. เวลาประเทศไทย) และโลกน่าจะได้เห็นภาพแรกของการลงจอด ในวันที่ 13 พย. เวลา 06:00 GMT ( 13:00 น. เวลาประเทศไทย)

    ข้างล่างทั้ง 2 เป็นภาพจำลอง

    [​IMG]

    [​IMG]


    มาฟังเสียงที่ยาน Rosetta บันทึกมาได้ขณะเข้าใกล้ดาวหาง ยังกะเสียงเครื่องยนต์เลย

    <iframe width="640" height="390" src="//www.youtube.com/embed/Q2fSSlAfIig" frameborder="0" allowfullscreen></iframe>

    Live Stream :

    Rosetta | rendezvous with a comet

    .
     
  19. เขารูปช้าง

    เขารูปช้าง เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 พฤศจิกายน 2012
    โพสต์:
    24
    ค่าพลัง:
    +127
    ท่าน hiflyer ครับผมดูคลิปและเสียงที่ยานRosetta บันทึกแล้วยัง งงๆอยู่นะครับว่าดาวหาง 67P C-G มีชั้นบรรยากาศด้วยหรือเสียงถึงเดินทางเข้าสู่ไมโครโฟนบนยาน Rosetta ได้ครับ ไม่ทราบว่าเป็นการบันทึกในย่าน 20- 20,000 Hz หรือเปล่า
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 13 พฤศจิกายน 2014
  20. hiflyer

    hiflyer เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 พฤษภาคม 2012
    โพสต์:
    3,321
    ค่าพลัง:
    +15,681

    ต่ำกว่ามากเลยครับ ตามข้างล่าง

    The song is being sung at a frequency of 40-50 millihertz, much lower than the 20 hertz – 20 kilohertz range of human hearing. Rosetta’s magnetometer experiment first clearly picked up the sounds in August, when the spacecraft drew to within 62 miles (100 km) of the comet. To make them audible Rosetta scientists increased their pitch 10,000 times.


    confirmed การลงจอดของยาน Philae เมื่อ 11:05 น. เวลาบ้านเรา เรียบร้อยดีครับ ดูจาก Live stream

    [​IMG]

    [​IMG]

    .
     

แชร์หน้านี้

Loading...