เทคนิค ที่ช่วยส่งเสริม ในการตั้ง สมถะ

ในห้อง 'อภิญญา - สมาธิ' ตั้งกระทู้โดย วิษณุ12, 20 ตุลาคม 2010.

  1. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    เทคนิค ที่ช่วย ส่งเสริม ในการตั้งสมถะได้เร็ว

    ก่อนจะทำการนั่งสมาธิ ให้ทำแบบนี้
    อาบน้ำชำระร่างกายให้สดชื่น
    ใส่ชุดที่สะบาย
    แล้วเริ่มการสวดมนต์ ดังนี้
     
  2. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    ระลึกถึงคุณพระรัตนะตรัย


    กราบ ๕ ครั้ง


    กล่าวคำขอขมาว่าดังนี้


    ข้าพเจ้า ขอขมากรรม พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์
    ครูบาอาจารย์
    บิดามารดา
    เจ้ากรรมนายเวร
    และสิ่งศักสิทธิ์ทั้งหลาย
    กรรมอันใด ที่ข้าพเจ้า ได้ล่วงเกิน
    ด้วย กายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี ตั้งใจก็ดี ไม่ตั้งใจก็ดี รู้เท่าไม่ถึงการณ์ก็ดี
    ขอทุกท่าน โปรดอโหสิกรรม ให้ข้าพเจ้าด้วยเทอญ


    อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ อาจาริยานัง ปูเชมิ
    อิมินา สักกาเรนะ มาตาปิตุนัง ปูเชมิ


    อะระหังสัมมา สัมพุทโธ ภะคะวา พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ (กราบ )
    สะวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม ธัมมัง นะมัสสามิ (กราบ )
    สุปฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ สังฆัง นะมามิ (กราบ )
    มัยหังมาตาปิตูนังวะ ปาเท วันทามิ สาคะรัง (กราบ)
    ปัญญาวุฒฑิ กะเรเตเต ทินโนวาเท นะมามิหัง (กราบ)


    อาราธะนาศีล ๘


    ข้าพเจ้า ขอตั้งสัจจะบาระมี จะขอรักษาศีล ๘ ให้ได้ ตลอดการสวดมนต์ภาวนานี้


    อะหังภันเต ติสะระเนนะสะหะ อัฐฐะ ศีลานิยาจามิ
    ทุติยัมปิ อะหังภันเต ติสะระเนนะสะหะ อัฐฐะ ศีลานิยาจามิ
    ตะติยัมปิ อะหังภันเต ติสะระเนนะสะหะ อัฐฐะ ศีลานิยาจามิ


    ๑. ปาณาติปาตา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ


    ๒. อะทินนา ทานา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ


    ๓. อะพรัมมะจะริยา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ


    ๔. มุสาวาทา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ


    ๕. สุราเมระยะ มัจชะ ปะมา ธะฐานา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ


    ๖. วิกาละโภชะนา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ


    ๗. นัฏจะคีตะวาฐิตะ วิสูกะทัศสะนา มาลาคันธะ วิเลปะนะ ธาระนะ
    มันฑะนะ วิภูสะนัฏฐานา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ


    ๘. อุจจา สะยะนะ มะหา สะยะนา เวระมณี สิกขา ปะทัง สะมาธิ ยามิ


    อิมานิ อัฐฐะ สิกขา ปะทานิ สะมาธิยามิ
    อิมานิ อัฐฐะ สิกขา ปะทานิ สะมาธิยามิ
    อิมานิ อัฐฐะ สิกขา ปะทานิ สะมาธิยามิ


    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุท ธัสสะ
    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุท ธัสสะ
    นะโมตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมา สัมพุท ธัสสะ


    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ


    ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ


    ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ


    (บท พุทธะคุณ )
    อิติปิโสภะคะวา
    อะระหัง สัมมา สัมพุทโธ
    วิชชา จะระณะ สัมปันโน
    สุคะโต
    โลกะวิทู
    อะนุตตะโล
    ปุริสะธัมมะสาระถี
    สัตถา เทวะ มะนุษสานัง
    พุทโธ
    ภะคะวา ติ



    ( บท ธรรมะคุณ )
    สะวากขาโต ภะคะวะตาธัมโม
    สัณฐิติโก
    อะกาลิโก
    เอหิปัสสิโก
    โอปะนะยิโก
    ปัจจัตตัง เวธิตัพโพ วิญญู หิ ติ



    (บท สังฆะคุณ )
    สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ญาญะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    ยะทิตัง จัตตาริ ปุริสะยุค คานิ
    อัฐฐะ ปุลิสะปุคคะลา
    เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
    อาหุเนยโย ปาหุเนยโย ทักขิเนยโย อัญชะลีกะระณีโย
    อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ​




    ตามด้วยบท ต่อไปนี้ คือ
    บท พาหุง



    พาหุง สะหัสสะมะภินิมมิตะสาวุธันตัง
    ค รีเมขะลัง อุทิตะโฆระสะเสนะมารัง<O:p</O:p
    ทานาทิธัมมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<O:p



    มาราติเรกะมะภิยุชฌิตะสัพพะรัตติง<O:p</O:p
    โฆรัมปะนาฬะวะมักขะมะถัทธะยักขัง<O:p</O:p
    ขันตีสุทันตะวิธินา ชิตะวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<O:p</O:p



    นาฬาคิริง คะชะวะรัง อะติมัตตะภูตัง<O:p</O:p
    ทาวัคคิจักกะมะสะนีวะ สุทารุณันตัง<O:p</O:p
    เมตตัมพุเสกะวิธินา ชิตะวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<O:p</O:p



    อุกขิตตะขัคคะมะติหัตถะสุทารุณันตัง<O:p</O:p
    ธาวันติโยชะนะปะถังคุลิมาละวันตัง<O:p</O:p
    อิทธีภิสังขะตะมะโน ชิตะวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<O:p</O:p



    กัตวานะ กิฏฐะมุทะรัง อิวะ คัพภินียา<O:p</O:p
    จิญจายะ ทุฏฐะวะจะนัง ชะนะกายะมัชเฌ
    สันเตนะ โสมะวิธินา ชิตะวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<O:p</O:p



    สัจจัง วิหายะ มะติสัจจะกะวาทะเกตุง
    วาทาภิโรปิตะมะนัง อะติอันธะภูตัง<O:p</O:p
    ปัญญาปะทีปะชะลิโต ชิตะวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<O:p</O:p




    นันโทปะนันทะภุชะคัง วิพุธัง มะหิทธิง<O:p</O:p
    ปุตเตนะ เถระภุชะเคนะ ทะมาปะยันโต<O:p</O:p
    อิทธูปะเทสะวิธินา ชิตะวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<O:p</O:p




    ทุคคาหะทิฏฐิภุชะเคนะ สุทัฏฐะหัตถัง<O:p</O:p
    พรัหมัง วิสุทธิชุติมิทธิพะกาภิธานัง<O:p</O:p
    ญาณาคะเทนะ วิธินา ชิตะวา มุนินโท<O:p</O:p
    ตันเตชะสา ภะวะตุ เต ชะยะมังคะลานิ ฯ<O:p</O:p



    เอตาปิ พุทธะ ชะยะมัง คะละอัฏ ฐะคาถา<O:p</O:p
    โย วาจะโน ทินะทิเน สะระเต มะตันที<O:p</O:p
    หิตะวานะเนกะวิวิธานิ จุปัททะวานิ<O:p</O:p
    โมกขัง สุขัง อะธิคะเมยยะ นะโร สะปัญโญ ฯ



    (บท มหากาฯ )


    <O:pมะหาการุณิโก นาโถ หิตายะ สัพพะปาณินัง<O:p</O:p
    ปูเรตวา ปาระมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง<O:p</O:p
    เอเตนะ สัจจะวัชเชนะ โหตุ เต ชะยะมังคะลัง ฯ<O:p</O:p
    ชะยันโต โพธิยา มูเล สักยานัง นันทิวัฑฒะโน<O:p</O:p
    เอวัง ตวัง วิชะโย โหหิ ชะยัสสุ ชะยะมังคะเล<O:p</O:p
    อะปะราชิตะปัลลังเก สีเส ปะฐะวิโปกขะเร<O:p</O:p
    อะภิเสเก สัพพะพุทธานัง อัคคัปปัตโต ปะโมทะติ ฯ<O:p</O:p
    สุนักขัตตัง สุมังคะลัง สุปะภาตัง สุหุฏฐิตัง<O:p</O:p
    สุขะโณ สุมุหุตโต จะ สุยิฏฐัง พรัหมะจาริสุ<O:p</O:p
    ปะทักขิณัง กายะกัมมัง วาจากัมมัง ปะทักขิณัง<O:p</O:p
    ปะทักขิณัง มะโนกัมมัง ปะณิธี เต ปะทักขิณา<O:p</O:p
    ปะทักขิณานิ กัตวานะ ละภันตัตเถ ปะทักขิเณ ฯ<O:p</O:p
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา<O:p</O:p
    สัพพะพุทธานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ<O:p</O:p
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา<O:p</O:p
    สัพพะธัมมานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ <O:p</O:p
    ภะวะตุ สัพพะมังคะลัง รักขันตุ สัพพะเทวะตา<O:p</O:p
    สัพพะสังฆานุภาเวนะ สะทา โสตถี ภะวันตุ เต ฯ


    ต่อด้วย คาถาโพธิบาท

    (ทิสตะวันออก)
    บูระพา รัสสมิง พระพุทธะคุณัง
    บูระพา รัสสมิง พระธัมเมตัง
    บูระพา รัสสมิง พระสังฆานัง
    ทุกขะโรคะภะยัง วิวันชัยเย
    สัพพะทุกข์ สัพพะโศก
    สัพพะโรค สัพพะภัย
    สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวันชัยเย
    สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม
    รักขันตุ สุรักขันตุ ชัยยะ ชัยยะ อิติปิโส ภะคะวา

    (ทิศตะวันออกเฉียงใต้)
    อาคะเนย รัสสมิง พระพุทธะคุณัง
    อาคะเนย รัสสมิง พระธัมเมตัง
    อาคะเนย รัสสมิง พระสังฆานัง
    ทุกขะโรคะภะยัง วิวันชัยเย
    สัพพะทุกข์ สัพพะโศก
    สัพพะโรค สัพพะภัย
    สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวันชัยเย
    สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม
    รักขันตุ สุรักขันตุ ชัยยะ ชัยยะ อิติปิโส ภะคะวา

    (ทิศใต้)
    ทักษิณ รัสสมิง พระพุทธะคุณัง
    ทักษิณ รัสสมิง พระธัมเมตัง
    ทักษิณ รัสสมิง พระสังฆานัง
    ทุกขะโรคะภะยัง วิวันชัยเย
    สัพพะทุกข์ สัพพะโศก
    สัพพะโรค สัพพะภัย
    สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวันชัยเย
    สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม
    รักขันตุ สุรักขันตุ ชัยยะ ชัยยะ อิติปิโส ภะคะวา

    (ทิศตะวันตกเฉียงใต้)
    หะระดี รัสสมิง พระพุทธะคุณัง
    หะระดี รัสสมิง พระธัมเมตัง
    หะระดี รัสสมิง พระสังฆานัง
    ทุกขะโรคะภะยัง วิวันชัยเย
    สัพพะทุกข์ สัพพะโศก
    สัพพะโรค สัพพะภัย
    สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวันชัยเย
    สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม
    รักขันตุ สุรักขันตุ ชัยยะ ชัยยะ อิติปิโส ภะคะวา

    (ทิศตะวันตก)
    ปัจจิม รัสสมิง พระพุทธะคุณัง
    ปัจจิม รัสสมิง พระธัมเมตัง
    ปัจจิม รัสสมิง พระสังฆานัง
    ทุกขะโรคะภะยัง วิวันชัยเย
    สัพพะทุกข์ สัพพะโศก
    สัพพะโรค สัพพะภัย
    สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวันชัยเย
    สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม
    รักขันตุ สุรักขันตุ ชัยยะ ชัยยะ อิติปิโส ภะคะวา

    (ทิศตะวันตกเฉียงเหนือ)
    พายัพ รัสสมิง พระพุทธะคุณัง
    พายัพ รัสสมิง พระธัมเมตัง
    พายัพ รัสสมิง พระสังฆานัง
    ทุกขะโรคะภะยัง วิวันชัยเย
    สัพพะทุกข์ สัพพะโศก
    สัพพะโรค สัพพะภัย
    สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวันชัยเย
    สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม
    รักขันตุ สุรักขันตุ ชัยยะ ชัยยะ อิติปิโส ภะคะวา

    (ทิศเหนือ)
    อุดร รัสสมิง พระพุทธะคุณัง
    อุดร รัสสมิง พระธัมเมตัง
    อุดร รัสสมิง พระสังฆานัง
    ทุกขะโรคะภะยัง วิวันชัยเย
    สัพพะทุกข์ สัพพะโศก
    สัพพะโรค สัพพะภัย
    สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวันชัยเย
    สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม
    รักขันตุ สุรักขันตุ ชัยยะ ชัยยะ อิติปิโส ภะคะวา

    (ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ)
    อิสาน รัสสมิง พระพุทธะคุณัง
    อิสาน รัสสมิง พระธัมเมตัง
    อิสาน รัสสมิง พระสังฆานัง
    ทุกขะโรคะภะยัง วิวันชัยเย
    สัพพะทุกข์ สัพพะโศก
    สัพพะโรค สัพพะภัย
    สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวันชัยเย
    สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม
    รักขันตุ สุรักขันตุ ชัยยะ ชัยยะ อิติปิโส ภะคะวา

    (ทางดิน)
    ปัฐฐะวี รัสสมิง พระพุทธะคุณัง
    ปัฐฐะวี รัสสมิง พระธัมเมตัง
    ปัฐฐะวี รัสสมิง พระสังฆานัง
    ทุกขะโรคะภะยัง วิวันชัยเย
    สัพพะทุกข์ สัพพะโศก
    สัพพะโรค สัพพะภัย
    สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวันชัยเย
    สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม
    รักขันตุ สุรักขันตุ ชัยยะ ชัยยะ อิติปิโส ภะคะวา

    (ทางน้ำ)
    คงคา รัสสมิง พระพุทธะคุณัง
    คงคา รัสสมิง พระธัมเมตัง
    คงคา รัสสมิง พระสังฆานัง
    ทุกขะโรคะภะยัง วิวันชัยเย
    สัพพะทุกข์ สัพพะโศก
    สัพพะโรค สัพพะภัย
    สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวันชัยเย
    สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม
    รักขันตุ สุรักขันตุ ชัยยะ ชัยยะ อิติปิโส ภะคะวา

    (ทางอากาศ)
    อากาศ รัสสมิง พระพุทธะคุณัง
    อากาศ รัสสมิง พระธัมเมตัง
    อากาศ รัสสมิง พระสังฆานัง
    ทุกขะโรคะภะยัง วิวันชัยเย
    สัพพะทุกข์ สัพพะโศก
    สัพพะโรค สัพพะภัย
    สัพพะเคราะห์ เสนียดจัญไร วิวันชัยเย
    สัพพะธะนัง สัพพะลาภัง ภะวันตุเม
    รักขันตุ สุรักขันตุ ชัยยะ ชัยยะ อิติปิโส ภะคะวา​
    <!-- google_ad_section_end -->


    (ต่อด้วยบท)

    บารมี ๓๐ ทัศ


    ทานะปาระมี สัมปันโน
    ทานะอุปะปาระมี สัมปันโน
    ทานะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุฑิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา


    ศีละปาระมี สัมปันโน
    ศีละอุปะปาระมี สัมปันโน
    ศีละปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุฑิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา


    เนกขัมมะปาระมี สัมปันโน
    เขกขัมมะอุปะปาระมี สัมปันโน
    เนกขัมมะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุฑิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา


    ปัญญาปาระมี สัมปันโน
    ปัญญาอุปะปาระมี สัมปันโน
    ปัญญาปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุฑิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา


    วิริยะปาระมี สัมปันโน
    วิริยะอุปะปาระมี สัมปันโน
    วิริยะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุฑิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา


    ขันติปาระมี สัมปันโน
    ขันติอุปะปาระมี สัมปันโน
    ขันติปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุฑิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา


    อธิฐานะปาระมี สัมปันโน
    อธิฐานะอุปะปาระมี สัมปันโน
    อธิฐานะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุฑิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา


    สัจจะปาระมี สัมปันโน
    สัจจะอุปะปาระมี สัมปันโน
    สัจจะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุฑิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา


    เมตตาปาระมี สัมปันโน
    เมตตาอุปะปาระมี สัมปันโน
    เมตตาปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุฑิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา

    ๑๐
    อุเบกขาปาระมี สัมปันโน
    อุเบกขาอุปะปาระมี สัมปันโน
    อุเบกขาปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุฑิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา

    ทะสะปาระมี สัมปันโน
    ทะสะอุปะปาระมี สัมปันโน
    ทะสะปะระมัตถะปาระมี สัมปันโน
    เมตตา ไมตรี กะรุณา มุฑิตา อุเบกขา ปาระมี สัมปันโน อิติปิโส ภะคะวา

    พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
    ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
    สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ
    นะมามิหัง


    (ต่อด้วยบท)

    พระคาถาชินบัญชรสูตร
    ของสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต พรหมรังสี) วัดระฆังโฆสิตาราม

    <O:p
    ๑. ชินะสะรากะตา พุทธา เชตวา มารัง สะวาหะนัง<O:p</O:p
    จะตุสัจจาสะภัง ระสัง เย ปิวิงสุ นะราสะภา<O:p</O:p

    ๒. ตัณหังกะราทะโญ พุทธา อัฏฐะวีสะติ นายะกา<O:p</O:p
    สัพเพ ปะติฏฐิโต มัยหัง มัตถะเก เต มะนุสสะรา<O:p</O:p

    ๓. สีเส ปะติฏฐิโต มัยหัง พุทโธ ธัมโม ทะวิโลจะเน<O:p</O:p
    สังโฆ ปะติฏฐิโต มัยหัง อุเร สัพพะคุณากะโร<O:p</O:p

    ๔. หะทะเย อะนุรุทโธ จะ สาริปุตโต จะ ทักขิเณ<O:p</O:p
    โกณฑัญโญ ปิฏฐิภาคัสมิง โมคคัลลาโน จะ วามะเก<O:p</O:p

    ๕. ทักขิเณ สะวะเน มัยหัง อาสุง อานันทะราหุลา <O:p</O:p
    กัสสะโป จะ มะหานาโม อาภาสุง วามะโสตถะเก<O:p</O:p

    ๖. เกสันเต ปิฏฐิภาคัสมิง สุริโยวะ ปะภังกะโร<O:p</O:p
    นิสินโน สิริสัมปันโน โสภีโต มุนีปุงคะโล<O:p</O:p

    ๗. กุมาระกัสสะโป เถโร มะเหสี จิตตะวาทะโก<O:p</O:p
    โส มัยหัง วะทะเน นิจจัง ปะติฏฐาสิ คุณากะโร<O:p</O:p

    ๘. ปุณโณ อังคุลิมาโล จะ อุปาลีนันทะสีวะลี<O:p</O:p
    เถรา ปัญจะ อิเม ชาตา นะลาเต ติละกา มะมะ<O:p</O:p

    ๙. เสสาสีติ มะหาเถรา ชิตะวันโต ชิโนระสา<O:p</O:p
    ชะวันตา สีละเตเชนะ อังคะมังเคสุ สัณฐิตา <O:p</O:p

    ๑๐. ระตะนัง ปุเรโต อาสิ ทักขิเณ เมตตะสุตตะกัง<O:p</O:p
    ธะชัคคัง ปัจฉะโต อาสิ วาเม อังคุลิมาละกัง<O:p</O:p

    ๑๑. ขันธะโมระปะริตตัญจะ อาฏานาฏิยะสุตตะกัง<O:p</O:p
    อากาเส ฉะทะนัง อาสิ เสสา ปาการะลังกะตัง<O:p</O:p

    ๑๒. ชินา นานาวะระสังยุตตา สัตตะปาการะลังกะตา<O:p</O:p
    วาตาปิตตะทิสัญชาตา พาหิรัชฌัตตุปัททะวา<O:p</O:p

    ๑๓. อะเสสา วิญญัง ยันตุ อะนันตะชินะเตชะสา<O:p</O:p
    วะสะโต เม สะกิจเจนะ สะทา สัมพุทธะปัญชะเร<O:p</O:p

    ๑๔. ชินะปัญขะระมัชเฌหิ วิหะรันตัง มะหีตะเล<O:p</O:p
    สะทา ปาเลนตุ มัง สัพเพ เต มะหาปุริสาสะภา<O:p</O:p

    ๑๕. อิจเจวะมันโต สุคุตโต สุรักโข<O:p</O:p
    ชินานุภาเวนะ ชิตุปัททะโว<O:p</O:p
    ธัมมานุภาเวนะ ชิตาริสังโฆ<O:p</O:p
    สังฆานุภาเวนะ ชิตันตะรีโย<O:p</O:p
    สัทธัมมานุภาวะ ปาลีโต จะรามิ ชินะปัญชะเรตีติ.


    (ต่อด้วยบท)


    กะระณียะเมตตะสุตตัง<O:p</O:p

    กะระณียะมัตถะกุสะเลนะ ยันตัง สันตัง ปะทัง อะภิสะเมจจะ<O:p</O:p
    สักโก อุชู จะ สุหุชู จะ สุวะโจ จัสสะ มุทุ อะนะติมานี<O:p</O:p
    สันตุสสะโก จะ สุภะโร จะ อัปปะกิจโจ จะ สัลละหุกะวุตติ<O:p</O:p
    สันตินทริโย จะ นิปะโก จะ อัปปะคัพโภ กุเลสุ อะนะนุคิทโธ<O:p</O:p
    นะ จะ ขุททัง สะมาจะเร กิญจิ เยนะ วิญญู ปะเร อุปะวะเทยยุง<O:p</O:p
    สุขิโน วา เขมิโน โหตุ สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา <O:p</O:p

    เย เกจิ ปาณะภูตัตถิ ตะสา วา ถาวะรา วา อะนะวะเสสา<O:p</O:p
    ทีฆา วา เย มะหันตา วา มัชฌิยา รัสสะกา อะณุกะถูลา<O:p</O:p
    ทิฏฐา วา เย จะ อะทิฏฐา เย จะ ทูเร วะสันติ อะวิทูเร<O:p</O:p
    ภูตา วา สัมภะเวสี วา สัพเพ สัตตา ภะวันตุ สุขิตัตตา<O:p</O:p
    นะ ปะโร ปะรัง นิกุพเพถะ นาติมัญเญถะ กัตถะจิ นัง กิญจิ<O:p</O:p
    พยาโรสะนา ปะฏีฆะสัญญา นาญญะมัญญัสสะ ทุกขะมิจเฉยยะ<O:p</O:p
    มาตา ยะถา นิยัง ปุตตัง อายุสา เอกะปุตตะมะนุรักเข<O:p</O:p
    เอวัมปิ สัพพะภุเตสุ มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง<O:p</O:p
    เมตตัญจะ สัพพะโลกัสมิง มานะสัมภาวะเย อะปะริมาณัง<O:p</O:p
    อุทธัง อะโธ จะ ติริยัญจะ อะสัมพาธัง อะเวรัง อะสะปัตตัง<O:p</O:p
    ติฏฐัญจะรัง นิสินโน วา สะยาโน วา ยาวะตัสสะ วิคะตะมิทโธ<O:p</O:p
    เอตัง สะติง อะธิฏเฐยยะ พรัหมะเมตัง วิหารัง อิธะมาหุ<O:p</O:p
    ทิฏฐิญจะ อะนุปะคัมมะ สีละวา ทัสสะเนนะ สัมปันโน <O:p</O:p
    กาเมสุ วิเนยยะ เคธัง นะ หิ ชาตุ คัพภะเสยยัง ปุนะเรตีติ ฯ



    ( ต่อด้วย บท กรวดน้ำ )​


    <O:p</O:p

    กรวดน้ำอิมินา<O:p</O:p
    (นำ) หันทะ มะยัง อุททิงสะนาธิฏฐานะคาถาโย ภะณามะ เส ฯ<O:p</O:p
    (รับ) อิมินา ปุญญะกัมเมนะ อุปัชฌายา คุณุตตะรา<O:p</O:p
    อาจริยูปะการา จะ มาตาปิตา จะ ญาตะกา (ปิยา มะมัง)<O:p</O:p
    สุริโย จันทิมา ราชา คุณะวันตา นะราปิ จะ<O:p</O:p
    พรัหมะมารา จะ อินทา จะ<SUP>๑</SUP> โลกะปาลา จะ เทวะตา<O:p</O:p
    ยะโม มิตตา มะนุสสา จะ มัชฌัตตา เวริกาปิ จะ<O:p</O:p
    สัพเพ สัตตา สุขี โหนตุ ปุญญานิ ปะกะตานิ เม<O:p</O:p
    สุขัง จะ ติวิธัง เทนตุ ขิปปัง ปาเปถะ โว มะตัง ฯ<O:p</O:p
    อิมินา ปุญญากัมเมนะ อิมินา อุททิเสนะ จะ<O:p</O:p
    ขิปปาหัง สุละเภ เจวะ ตัณหุปานทานะเฉทะนัง<O:p</O:p
    เย สันตาเน หินา ธัมมา ยาวะ นิพพานะโต มะมัง<O:p</O:p
    นัสสันตุ สัพพะทา เยวะ ยัตถะ ชาโต ภะเว ภะเว<O:p</O:p
    อุชุจิตตัง สะติปัญญา สัลเลโข วิริยัมหินา<O:p</O:p
    มารา ละภันตุ โนกาสัง กาตุญจะ วิริเยสุ เม<O:p</O:p
    พุทธาทิปะวะโร นาโถ ธัมโม นาโถ วะรุตตะโม <O:p</O:p
    นาโถ ปัจเจกะพุทโธ จะ สังโฆ นาโถตตะโร มะมัง<O:p</O:p
    เตโสตตะมานุภาเวนะ มาโรกาสัง ละภันตุ มา ฯ


    จากนั้น นั่งตัวตรง ดำรงสติให้มั่น
    รู้ลมหายใจเข้าออก หรือจะเดินกรรมฐานที่เราถนัด
    ตามแต่เวลาที่เหมาะสม

    ( ขอกราบ ขอบพระคุณ ผู้ รวบรวม หนังสือ มนต์พีธี )<O:p</O:p
     
  3. Phanudet

    Phanudet เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 พฤษภาคม 2008
    โพสต์:
    8,434
    กระทู้เรื่องเด่น:
    1
    ค่าพลัง:
    +15,647
    สวดเสร็จก็จบการปฏิบัติพอดี....

    โมทนาสาธุบุญครับ....
     
  4. SP6580

    SP6580 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    28 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    518
    ค่าพลัง:
    +1,551
    หมดนี้ ก็หลับไปหลายท่านล่ะครับ ทุกคนร่างกายแข็งแรงไม่เหมือนกัน
     
  5. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    การสวดมนต์คือด่านแรกเลย หากเราเห็นการสวดมนต์เป็นสิ่งน่าเบื่อยาวไป
    ถือว่าเราแพ้ตั้งแต่ด่านแรกแล้ว การสวดมนต์นานๆ ทำให้สมาธิเรามั้นคงดี
    เวลาตั้งสมถะจะทำได้ง่าย ทั้งหมดนี้ ใช้เวลา ประมาณ 30 นาที หากไม่แปล ถ้าแปลด้วยก็เกือบชั่วโมงครึ่ง
    ทำวันละ 2 รอบ หรือหากมีเวลาก็นั่งสวดมนต์ภาวนาไปเรื่อยๆ ก็ได้
    1 วันมี 24 ชั่วโมง แบ่งเวลามาตรงนี้นิดเดียวเอง เนอะ
    คนที่ทำสมถะ และทำสมาธิบ่อย ๆ จะไม่เกิดความเบื่อหน่ายกับสิ่งที่ทำซ้ำซากหรอก
    วัดกันตรงนี้แระ และก็ทำสติปัฐฐาน 4 ระหว่างวันไป นอกเหนือจากเวลานี้

    การทำสมถะก็ควรนั่งดูเวทนาให้มันมาสักสอง 3 รอบเวทนามา-เวทนาหาย สัก 3 รอบอย่างน้อย ทุกวันจะดีมาก ทั้งหมดนี้ใช้เวลา 1.50 ชั่วโมงโดยเฉลี่ย

    สรุปคือ สวดมนต์แปล ทำสมถะ จะใช้เวลา ครั้งละ 3 ชั่วโมง
    วันหนึ่งแบ่งเวลามาทำ 6 ชั่วโมงเนอะ
    พระพุทธเจ้า ท่านตื่นตี 4 เวลานั้น สมองปลอดโปร่งดี คือเวลาท่านเรงฌานโปรดเวยไนยสัตว์
    เราก็ควรตื่นเวลานั้นมาสวดมนต์
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 ตุลาคม 2010
  6. เต้าเจี้ยว

    เต้าเจี้ยว เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 เมษายน 2008
    โพสต์:
    956
    ค่าพลัง:
    +1,697
    อิทธิบาทสี่กับบทไหน ก็เอาบทนั้นเลย
    พอแก่ตัว ที่ไม่เคยชอบสวดมนต์ ชอบนั่งสมาธิเฉยๆ
    ตอนนี้ก็มานั่งสวดมนต์เหมือนกัน
    เวลาเปลี่ยน ใจคนเปลี่ยน..

    6
     
  7. หลบภัย

    หลบภัย เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    15 มิถุนายน 2009
    โพสต์:
    2,207
    ค่าพลัง:
    +3,123
    อานิสงส์ของการสวดมนต์
    เทศนาโดยท่านเจ้าประคุณสมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต) พรหมรังสี ดังปรากฏในงานของท่านเจ้าพระยาสรรเพชรภักดี จางวางมหาดเล็กในรัชกาลที่ 4 ที่ได้นิมนต์เจ้าประคุณสมเด็จโตมาเทศน์ที่บ้าน
    ครั้นพลบค่ำ ท่านเจ้าประคุณสมเด็จโตพร้อมลูกศิษย์ได้เดินทางจากวัดระฆังมายังบ้านของท่านเจ้าพระยาสรรเพชรภักดี ซึ่งในขณะนั้นมีอุบาสก อุบาสิกา นั่งพับเพียบเรียบร้อยกันเป็นจำนวนมาก ด้วยต้องการสดับรับฟังการเทศน์ของท่านเจ้าประคุณ ณ ที่เรือนของท่านเจ้าพระยา
    เจ้าประคุณสมเด็จโต ได้ขึ้นนั่งบนธรรมาสน์เป็นที่เรียบร้อยแล้ว จึงกล่าวบูชาพระรัตนตรัย เมื่อจบแล้ว ท่านจึงเทศน์ “ เรื่อง อานิสงส์ของการสวดมนต์ ”
    ท่านเจ้าประคุณสมเด็จโต ได้กล่าวว่ายังมีคนส่วนใหญ่เข้าใจว่า การสวดมนต์มีประโยชน์น้อย และเสียเวลามากหรือฟังไม่รู้เรื่อง ความจริงแล้วการสวดมนต์มีประโยชน์อย่างมากมาย เพราะการสวดมนต์เป็นการกล่าวถึงคุณงามความดี ขององค์สมเด็จพระสัมมาสัมพุทธเจ้า ว่าพระองค์ท่านมีคุณวิเศษอย่างไร พระธรรมคำสอนของพระองค์มีคุณอย่างไร และพระสงฆ์อรหันต์อริยะเจ้ามีคุณเช่นไร การสวดมนต์ด้วยความตั้งใจจนจิตเป็นสมาธิ แล้วใช้สติพิจารณาจนเกิดปัญญาและความรู้ความเข้าใจ ประโยชน์สูงสุดของการสวดมนต์นั่นคือ จะทำให้ท่านเป็นผล จนสำเร็จเป็นพระอรหันต์
    ที่อาตมากล่าวเช่นนี้ มีหลักฐานปรากฏในพระธรรมคำสอนที่กล่าวไว้ว่า โอกาสที่จะบรรลุธรรมเป็นพระอรหันต์มี 5 โอกาสด้วยกันคือ
    • เมื่อฟังธรรม
    • เมื่อแสดงธรรม
    • เมื่อสาธยายธรรม นั่นคือ การสวดมนต์
    • เมื่อตรึกตรองธรรม หรือเพ่งธรรมอยู่ในขณะนั้น
    • เมื่อเจริญวิปัสสนาญาณ
    การสวดมนต์ในตอนเช้าและในตอนเย็นเป็นประเพณีที่ปฏิบัติกันมา ตั้งแต่สมัยพุทธกาล พระพุทธเจ้าทรงประกาศพระพุทธศาสนาบรรดาพุทธบริษัททั้งหลาย ต่างพากันมาเข้าเฝ้าพระพุทธองค์ โดยแบ่งเวลาเข้าเฝ้าเป็น 2 เวลา นั่นคือ ตอนเช้าเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า เพื่อฟังธรรม ตอนเย็นเข้าเฝ้าพระพุทธเจ้าเพื่อฟังธรรม การฟังธรรมเป็นการชำระล้างจิตใจ ที่เศร้าหมองให้หมดไปเพื่อสำเร็จสู่มรรคผลพระนิพพาน การสวดมนต์นับเป็นการดีพร้อมซึ่งประกอบไปด้วยองค์ทั้ง 3 นั่น คือ
    • กาย มีอาการสงบเรียบร้อยและสำรวม
    • ใจ มีความเคารพนบนอบต่อคุณพระรัตนตรัย
    • วาจา เป็นการกล่าวถ้อยคำสรรเสริญถึงพระคุณอันประเสริฐ ในพระคุณทั้ง 3 พร้อมเป็นการขอขมา ในการผิดพลาดหากมีและกล่าวสักการะเทิดทูนสิ่งสูงยิ่ง ซึ่งเราเรียกได้ว่าเป็นการสร้างกุศล ซึ่งเป็นมงคลอันสูงสุดที่เดียว
    อาตมาภาพ ขอรับรองแก่ท่านทั้งหลายว่า ถ้าหากบุคคลใดได้สวดมนต์เช้าและเย็นไม่ขาดแล้ว บุคคลนั้นย่อมเข้าสู่แดนพระอรหันต์อย่างแน่นอน
    การสวดมนต์นี้ ควรสวดมนต์ให้มีเสียงดับพอสมควร ย่อมก่อให้เกิดประโยชน์แก่จิตตน และประโยชน์แก่จิตอื่น
    *ที่ว่าประโยชน์แก่จิตตน คือ เสียงในการสวดมนต์จะกลบเสียงภายนอกไม่ให้เข้ามารบกวนจิต ก็จะทำให้เกิดความสงบอยู่กับบทสวดมนต์นั้น ๆ ทำให้เกิดสมาธิและปัญญา เข้ามาในจิตใจของผู้สวด
    *ที่ว่าประโยชน์แก่จิตอื่น คือ ผู้ใดที่ได้ยินได้ฟังเสียงสวดมนต์จะพลอย ได้เกิดความรู้เกิดปัญญา มีจิตสงบลึกซึ้งตามไปด้วย ผู้สวดก็เกิดกุศลไปด้วยโดยการให้ทานโดยทางเสียง เหล่าพรหมเทพที่ชอบฟังเสียงในการสวดมนต์ มีอยู่จำนวนมาก ก็จะมาชุมนุมฟังกันอย่างมากมาย เมื่อมีเหล่าพรหมเทพเข้ามาล้อมรอบตัวของผู้สวดอยู่เช่นนั้น ภัยอันตรายต่าง ๆ ที่ไหนก็ไม่สามารถกล้ำกลายผู้สวดมนต์ได้ตลอดจนอาณาเขตและบริเวณบ้านของผู้ที่สวดมนต์ ย่อมมีเกราะแห่งพรหมเทพและเทวดา ทั้งหลายคุ้มครองภัยอันตราย ได้อย่างดีเยี่ยม
    ดูก่อน.. ท่านเจ้าพระยาและอุบาสก อุบาสิกาในที่นี้ การสวดมนต์เป็นการระลึกถึงพระพุทธคุณ พระธรรมคุณ พระสังฆคุณเมื่อจิตมีที่พึ่งคือ คุณพระรัตนตรัย ความกลัวก็ดี ความสะดุ้งกลัวก็ดี และความขนพองสยองเกล้าก็ดี ภัยอันตรายใด ๆ ก็ดีจะไม่มีแก่ผู้สวดมนต์นั่นแล..

    จากหนังสือ อมตะธรรม สมเด็จโต พรหมรังษี


    ตอนปฏิบัติธรรมใหม่ ๆ วัดแรกที่ไปทำสมถะฐานครั้งแรกเลย หลวงพ่อบอกก่อนว่า จุดประสงค์การสอนมนต์เพื่ออะไร

    ศิษย์ ขออนุโมทนา........ หลวงพ่อสมัย วัดคลองตาลอง
     
  8. หม้อหุงข้าว..!

    หม้อหุงข้าว..! เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,103
    ค่าพลัง:
    +1,072
    น่าจะต่อด้วยบทสวดยอดพระกัณฑ์ไตรปิกฏก และพระอาการวัตตาสูตร ซึ่งเป็นบทสรรเสริญพุทธคุณ

    ส่วนที่เกี่ยวกับธรรมบท หรือพระสูตร พระปริตร อาจจะจัดตารางประจำวันไว้
    ว่าวันนี้ วันนั้น จะสวดบทนี้ เช่น ธรรมจักร สวดวันจันทร์ หรือกับบท.....อะไรก็ว่าไป
    เช่น กรณียเมตตสูตร รตนสูตร อาฏานาติยปริตร โมรปริตร (ใน 12 ตำนาน)

    ตัวอย่างไฟล์บทสวดไฟล์ PDF

    <TABLE border=0 cellSpacing=3 cellPadding=0><TBODY><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร.pdf (56.8 KB)</TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>อนัตตลักขณสูตร.pdf (54.2 KB)</TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>อาทิตตปริยายสูตร.pdf (52.8 KB)</TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>มัคควิภังคสูตร.pdf (50.7 KB)</TD></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>สติปัฏฐานปาฐะ.pdf (52.3 KB)</TD></TR></TBODY></TABLE>

    อันนี้มีพร้อมด้วยบทคำแปล

    [​IMG] อาทิตตปริยายสูตร.pdf (71.5 KB)

    [​IMG] อนัตตลักขณสูตร.pdf (79.1 KB)<!-- google_ad_section_end --><!-- google_ad_section_end -->


    ส่วนชินบัญชร เป็นบทสวดที่กล่าวถึงพระนามของพระอสีติมหาสาวก
    อนุโลมไปว่าเป็นบทพระสังฆคุณ แต่ก็มีกล่าวถึงพระสูตรสำคัญๆ รวมอยู่ด้วย

    ต่อท้ายด้วยแผ่เมตตา จะใช้บทแผ่เมตตาหลวง ตามประวัติได้กล่าวไว้ว่า

    หลวงปู่ขาว อนาลโย ได้ถ่ายทอดพระคาถาเมตตาหลวง
    ให้แก่หลวงปู่สิงห์ สุนฺทโร หรือหลวงปู่เมตตาหลวง
    (เสริซหาดู)

    หรือจะใช้บทแผ่เมตตาใหญ่ของหลวงพ่อจรัญ วัดอัมพวัน แต่ยาวมาก (เฉพาะบทนี้ร่วม ชม.)
    [​IMG] เมตตาพรหมวิหาระภาวนา(พระคาถาเมตต��.pdf (327.3 KB)


    หรือจะบทแผ่เมตตาสั้นๆ ทั่วไป ที่กล่าวถึง บทเมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา ก็มี


    หากต้องการฝึกหัดระเบียบวินัย ต่อตนเอง ลองสวดยาวๆ ดังกล่าว
    คือต้องมีเวลาเป็นส่วนตัว เข้มกับตนเอง
    แล้วจัดบทสวด ที่กล่าวถึงที่มีความสอดคล้อง พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นลำดับๆ ขั้น
    และหลังจากสวดเสร็จ แล้วได้นั่งสมาธิ ก็บทแผ่เมตตา
    ดูจะเป็นในรูปแบบพิธี ทำเป็นกิจวัตรประจำวันได้ ยังช่วยขจัดความขี้เกียจได้ดีเช่นกัน
    ได้ วิริยะ ขันติ ความตั้งใจมั่น

    สมาธิแข็งโป๊ก..!

    สมถะภาวนา...เป็นบาทฐาน


    แต่หากผู้ที่ไม่ค่อยมีเวลาเป็นส่วนตัว หรือผู้ทีลงสมาธิดีแล้ว ท่านอาจจะกล่าวเพียงแค่บทสวดอิติปิโส...
    แล้วก็จะนั่งหลับตา หรือเดินจงกรม บริกรรม พุทโธ ไปเลย แล้วพิจารณาของท่านไป เพื่อไม่เป็นการเสียเวลา
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 ตุลาคม 2010
  9. วิมุตติ

    วิมุตติ เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    5 ตุลาคม 2007
    โพสต์:
    2,355
    ค่าพลัง:
    +2,169
    สวดยาวขนาดนี้ ไม่ได้สมถะก็ให้มันรู้ไป หุๆๆ
     
  10. หม้อหุงข้าว..!

    หม้อหุงข้าว..! เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    7 กรกฎาคม 2008
    โพสต์:
    1,103
    ค่าพลัง:
    +1,072
    แนะ เพิ่มอีกสองบท

    - บทนมัสการพระพุทธเจ้า 28 พระองค์ (ส่วนนี้มีอยู่ในบางส่วนของ อาฏานาติยปริตร บทยาว) และ
    - พระคาถาธารณปริตร*

    ให้เต็มอิ่ม..!

    เคยสวดมาแล้วรวม 2 ชม.กว่าๆ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 21 ตุลาคม 2010
  11. อวตาร.

    อวตาร. เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ธันวาคม 2009
    โพสต์:
    411
    ค่าพลัง:
    +633
    ศีลดีบริบูรณ์ สมาธิก็จะตั้งมั่น เช่นเดียวกับ

    พื้นดินที่ดีที่เหมาะได้น้ำได้อาหารแร่ธาตุต่างๆ ต้นไม้ใหญ่ก็ยังรากลึกเจริญเติบโต
    ออกดอกออกผลที่สมบูรณ์

    พื้นดินดี...............ศีลดี
    พื้นดินเป็นดินเลน....ศีลไม่ดี
    น้ำและแร่ธาตุ........ทาน และการทำดีทุกชนิด
    ต้นไม้.................สมาธิ
    ดอกผล...............นิพพาน
     
  12. ไม่ยึด

    ไม่ยึด เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    24 กรกฎาคม 2009
    โพสต์:
    274
    ค่าพลัง:
    +263
    สาธุ ขอบคุณมากครับ จะหาเวลาปริ๊นไปสวดครับ

    ทำงานแทบข้ามวันเลย ไม่ค่อยมีเวลาเลยดูกายใจไปทั้งวัน ยกเว้นตอนหลับ
     
  13. dangcarry

    dangcarry เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    20 กันยายน 2005
    โพสต์:
    1,396
    ค่าพลัง:
    +4,307
    ชอบสวดมนต์ บทที่สวดทุกวัน ก็จะสวดพาหุง ยอดพระกันฑ์ ธัมจักร กรณียเมตาสูตร เมือก่อนสวดเมตาหลวง พอตอนหลังเอาแค่ 3 บท แล้วก็นั่งสมาธิ จบด้วยการแผ่เมตตา อุทิศบุญ
    กลับห้อง หาดูเว็ปพลังจิตที่มีข้อธรรมดีๆมาบอกกล่าวจากหลายท่านที่เมตตา เอามาน้อมพิณา
    เปิดธรรมฟังนอนภาวนาแล้วก็พักผ่อนร่างกาย อาม่าทำแบบนี้เป็นหลักค่ะ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 6 กุมภาพันธ์ 2011
  14. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846

    อย่าลืมล่ะ .... คำว่าไม่ค่อยมีเวลาดูกายดูใจ เป็นข้ออ้างเฉยๆ

    การงานที่ทำอยู่ก็เอามาเป็นการฝึกฝนได้ไปในตัว เช่น ลูกค้ามาต่อราคา เราเกิดไม่ชอบใจ ก็สังเกตุใจเราไป เรื่อยๆ .. ถ้ามันจะออกอกุศลทางกายก็ฝึกข่มใจไว้

    ลูกค้าไม่ต่อราคาซื้อไปเลย ก็สังเกตุใจเราไปเรื่อยๆ ฝึกง่ายๆ แต่ทำบ่อยๆ

    คำว่าไม่มีเวลา คือการไม่ลงมือทำ

    วันๆนึงต้องกระทบ ผัสสะทางอายตนะ12 ช่องว่างที่จะไม่กระทบไม่มีเลย

    จงใช้ ชีวิตประจำวันอย่างมีคุณค่า ไม่ปล่อยให้เสียไป ห่างไกลจากกรรมฐาน

    การสังเกตุใจบ่อยๆ เนืองๆ ทำบ่อยๆ เนืองๆ เมื่อมันชำนิชำนาญขึ้นมา
    จะมีไร น่าสนใจมาก ไม่เชื่อลองดู ขอให้ทำให้จริงเท่านั้น ที่ว่าจริง เน้นไปอีกว่า บ่อยๆ เนืองๆ บ่อยๆ เนืองๆ

    อย่าปล่อยชีวิตประจำวันให้ละลายน้ำทิ้งไปเฉยๆ เสียดายภาคมโหฬาร
     
  15. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846
    ดีดี ครับ อาม่า อากง การสวดมนต์เป็นพื้นฐาน ในการฝึกตน

    ยิ่งสวดดังๆนะ มันส์มาก ยิ่งได้สถานที่ เช่น ในถ้ำ ในโบสถ์นี่ สวดมนต์ มันส์ กว่าปกติซะอีกครับ .... (sing)
     
  16. วิษณุ12

    วิษณุ12 เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    26 ตุลาคม 2008
    โพสต์:
    5,337
    ค่าพลัง:
    +6,846

    ดีละดีละน้อง

    ไฟล์เดิม ครบ 1 บาทหรือยัง

    เมื่อครบแล้ว ให้อีก 1ไฟล์ กำลังเหมาะสำหรับตอน นี้

    ไฟล์ ที่ 041 และ 042 ฟังแล้วก็ลองถอดคำพูดหลวงปู่ลงกระดาษนะ
    จะได้หลัก และแม่นขึ้นในวิธี
     
  17. nataphat

    nataphat เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    23 เมษายน 2009
    โพสต์:
    189
    ค่าพลัง:
    +246
    โอยาวมากแต่การสวดกว่าจะจบก็ได้สมาธิระดับหนึ่งและพอมานั่งต่อก็คงไวขึ้น
     
  18. ยอดคะน้า

    ยอดคะน้า เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 มกราคม 2010
    โพสต์:
    947
    ค่าพลัง:
    +710
    เพิ่มเติมครับ

    พอดีมีโอกาสได้ไปวัดป่าสุทธาวาส เห็นนิทรรศการ แล้วไปเดินดู

    มี ที่ท่านอธิบายในชาร์ด ประวัติหลวงปู่มั่น ไว้ ว่า

    หลวงปู่มั่น ท่าน สวดมนต์ยาวและนาน
    เช่น บทธรรมจักร และอีกหลายบท

    โดยกระทำเป็นวัตร

    ทำให้เห็นว่า แม้ครูบาอาจารย์ ผู้ทรงคุณ ก็มิได้ละทิ้งวัตร สวดมนต์

    ยังมีอธิบายไว้อีกว่า

    การสวดมนต์ในใจ มีอานุภาพแผ่ไปได้ถึงหมื่นจักรวาล
    การสวดมนต์ออกเสียงเพียงพอฟังได้ มีอานุภาพแผ่ไปได้แสนจักรวาล
    การสวดมนต์เช้า-เย็น มีอานุภาพแผ่ไปได้แสนโกฏิจักรวาล
    การสวดมนต์ออกเสียง อย่างสุดกู่ มีอานุภาพ แผ่ไปได้อนันตจักรวาล
     
  19. ยอดคะน้า

    ยอดคะน้า เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    18 มกราคม 2010
    โพสต์:
    947
    ค่าพลัง:
    +710
    เพิ่มเติมอีกนิด

    มนต์ หมายถึง คำสอนที่เป็นหลักประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวัน
    สวด หมายถึง กิริยากล่าวมนต์ด้วยจิตเป็นกุศล

    การสวดมนต์ก็คือ การกล่าว สาธยาย คำสอน หลักประพฤติปฏิบัติในชีวิตประจำวันนั่นเองการกล่าวบ่อยๆจะทำให้จำได้ เมื่อจำได้ก็น้อมไปปฏิบัติ
    ที่สวดทุกวันก็เพื่อเตือนสติไว้เสมอ...จุดประสงค์หลักคือการน้อมนำคำสอนไปปฏิบัติเพื่อกระทำนิพพานให้แจ้ง วิธีการกระทำนิพพานให้แจ้งก็อยู่ในบทสวดมนต์นี่เอง
    การสวดมนต์โดยที่ไม่รู้ความหมายหรือสักแต่ว่าสวด ก็ยังได้ผลดังนี้...
    จิตใจเป็นสมาธิ เพราะจดจ่ออยู่กับการสวดมนต์ คือ
    ทำสมาธิได้จากการสวดมนต์
    พลังสมาธิเกิดจากการสวดมนต์

    เพื่อการพัฒนาในลำดับต่อไป
     
  20. <Q>

    <Q> Active Member

    วันที่สมัครสมาชิก:
    14 เมษายน 2011
    โพสต์:
    1,907
    ค่าพลัง:
    +80
    บทสวด เวลาใส่คำแปลลงไปทำให้ไม่รู้สึกขลัง รึเปล่า

    ทั้งที่จริงสมัยพุทธกาล มีการท่องจำคำสอนพร้อมเข้าใจความหมายตามเป็นปกติ

    เข้าใจว่าภาษาที่ใช้สวดเป็นภาษาเดียวกันที่ใช้สื่อสารในยุคนั้น

    ที่เห็นได้ชัดใน บทอาพาตสูตร ผู้ป่วยฟังแล้วเจริญสติระลึกรู้ความหมายตาม หายป่วยเลย
     

แชร์หน้านี้

Loading...