!!! จับตาพายุลูกใหม่ ที่กำลังก่อตัว ณ ขณะนี้ !!!

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 25 มกราคม 2007.

  1. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Tropical Storm LINFA (03W) : พายุโซนร้อน “หลิ่นฟ้า” ได้เคลื่อนตัวเข้าสู่ประเทศจีนแล้ว
    Tropical Storm LINFA (03W) : พายุโซนร้อน “หลิ่นฟ้า” ได้เคลื่อนตัวเข้าสู่ประเทศจีนแล้ว
    ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น ฮาวาย, สหรัฐฯ (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    สภาวะโดยทั่วไปของพายุหมุนเขตร้อนเมื่อเวลา 01.00น.
    ประจำวันที่ 22 มิถุนายน 2552 ออกประกาศเวลา 04.00 น. ตามเวลาประเทศไทย

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ ทะเลจีนใต้ และอ่าวไทย วันที่ 22 มิถุนายน 2552 /03.30 น. ปรากฎพายุหมุนเขตร้อน 1 ลูก / หย่อมความกดอากาศต่ำ 1 ลูก
    1)Tropical Storm LINFA (03W,25.3N 118.7E,35kts): เมื่อเวลา 19.00น.วานนี้(21มิ.ย.52) พายุโซนร้อน LINFA (หลิ่นฟ้า/03W) ซึ่งได้อ่อนกำลังลงจากไต้ฝุ่น ได้เคลื่อนตัวเข้าสู่มณฑลฟูโจว ประเทศจีนแล้ว และเมื่อเวลา 01.00น.วันนี้(22มิ.ย.52) พายุนี้มีศูนย์กลางยังคงปกคลุมบริเวณมณฑลฟูโจว ประเทศจีน อยู่ที่ละติจูด 25.3 องศาเหนือ ลองจิจูด 118.7 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันตกจากเกาะโอกินาวา ประเทศญี่ปุ่นห่ างประมาณ 927 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือด้วยความเร็ว 9 นอต(17 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 35 นอต(65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 997 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ - เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดพายุโซนร้อน LINFA (หลิ่นฟ้า/03W) จะอ่อนกำลังลงเป็นพายุดีเปรสชั่นก่อนที่จะเริ่มเคลื่อนตัวออกจากประเทศจีนใน อีก 12-24 ชั่วโมงข้างหน้าหรือช่วง 13.00น.วันนี้(22มิ.ย.52)เป็นต้นไป และจะสลายตัวในระยะต่อไปในช่วงวันที่ 23มิ.ย.52 : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    2)Tropical Disturbance 92W(9.9N 134.7E,15kts): เมื่อเวลา 01.00น.วันนี้(22มิ.ย.52) หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังค่อนข้างแรง 92W มีศูนย์กลางปกคลุมกลางทะเลแปซิฟิกหรือ***งอ อกไปทางด้านตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศฟิลิปปินส์ ที่ละติจูด 10.1 องศาเหนือ ลองจิจูด 144.0 องศาตะวันออก ได้เคลื่อนตัวมาอยู่ที่ละติจูด 9.9 องศาเหนือ ลองจิจูด 134.7 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จากกรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ห่ างประมาณ - กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือเล็กน้อยด้วยความเร็ว 7 นอต(13 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา. มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 15 นอต(28 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวประมาณ 1010 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ - เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังค่อนข้างแรง 92W จะเคลื่อนตัวไปทางตะวันตกเฉียงเหนืออย่างช้าๆต่อไปในอีก 24-48 ชั่วโมงข้างหน้า ยังไม่มีแนวโน้มพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนในช่วง 2-3 วันนี้ หรือช่วง 24-25มิ.ย.52 : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    <เพิ่มเติม/ความเห็น>
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม INFRARED ทุกๆ 1 ชม.
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 100-150 องศาตะวันออก)
    [​IMG]
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 140-180 องศาตะวันออก)
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรเเปซิฟิคตอนเหนือด้านตะวันตก ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณประเทศญี่ปุ่น ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายแบบเต็ม ทุกๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/globe/2048x2048/ir.jpgCLICK เพื่อดูภาพขนาดใหญ่
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/animation/MPEG-2/last-120h.mpgCLICK เพื่อดูภาพถ่ายดาวเทียมเคลื่อนไหว 120 ชั่วโมงที่ผ่านมา หรือ เมื่อ 5 วันที่ผ่านมา UPDATE ทุกๆ 1 ชั่วโมง

    *******

    ภาพการคาดหมายเส้นทางการเดินพายุ ล่วงหน้า 5 วัน ทุกๆ 6 ชม.
    บริเวณพื้นที่ตาข่ายสีดำ รูปกรวย(โคน) แสดงถึง ความไม่แน่นอน/ความเป็นไปได้ที่จะได้รับผลกระทบหรือศูนย์กลางพายุอาจจะพัดผ่าน
    ***เครื่องของท่านอาจไม่ปรากฏภาพดังกล่าว ให้ CLICK ขวา > Show Picture***
    ที่มา Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC *ต้นฉบับ*
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
     
  2. k_karn

    k_karn เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    16 พฤษภาคม 2009
    โพสต์:
    185
    ค่าพลัง:
    +149
    Thank you Falkman!
    Pls keep on watching.
     
  3. Tossaporn K.

    Tossaporn K. เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    17 พฤศจิกายน 2005
    โพสต์:
    1,565
    ค่าพลัง:
    +7,747
    ขอบคุณครับคุณอ๋อ สำหรับข้อมูลดีๆครับ
     
  4. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Tropical Depression 04W : หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง 92W ได้พัฒนาเป็นพายุดีเปรสชันแล้ว
    Tropical Depression 04W : หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง 92W ได้พัฒนาเป็นพายุดีเปรสชันแล้ว
    ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น ฮาวาย, สหรัฐฯ (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    สภาวะโดยทั่วไปของพายุหมุนเขตร้อนเมื่อเวลา 19.00น.
    ประจำวันที่ 22 มิถุนายน 2552 ออกประกาศเวลา 21.00 น. ตามเวลาประเทศไทย

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ ทะเลจีนใต้ และอ่าวไทย วันที่ 22 มิถุนายน 2552 /20.30 น. ปรากฎพายุหมุนเขตร้อน 1 ลูก / หย่อมความกดอากาศต่ำ 1 ลูก
    1)Tropical Depression 04W(11.3N 128.7E,25kts): เมื่อเวลา 19.00น.วันนี้(22มิ.ย.52) หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรงแรง 92W มีศูนย์กลางปกคลุมกลางทะเลแปซิฟิกหรือ***งออกไป ทางด้านตะวันออกเฉียงใต้ของประเทศฟิลิปปินส์ ได้พัฒนาเป็นดีเปรสชันเขตร้อนแล้ว อยู่ที่ละติจูด 11.3 องศาเหนือ ลองจิจูด 128.7 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จากกรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ห่ างประมาณ 964 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือด้วยความเร็ว 19 นอต(35 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา. ดีเปรสชัน 04W ได้ก่อตัวเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็วในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา. โดย มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 25 นอต(46 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวระดับน้ำทะเลประมาณ 1004 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ 2 เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดดีเปรสชันเขตร้อน 04W จะเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือมุ่งหน้าไปยังเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ในอีก 48 ชั่วโมงข้างหน้าหรือช่วง 19.00น.(24มิ.ย.52) เป็นต้นไป มีความเป็นไปได้ว่าอาจจะพัฒนาเป็นได้ฝุ่นในระดับ 1 ก่อนที่ศูนย์กลางจะเคลื่อนตัวเข้าสู่ชายฝั่งเกาะลูซอน และจะเคลื่อนตัวออกจากเกาะลงสู่ทะเลจีนใต้ในอีก 72 ชั่วโมงข้างหน้าหรือช่วงประมาณ 19.00น.(25มิ.ย.52) เป็นต้นไป โดยคาดว่าจะมีทิศทางเบี่ยงตัวไปทางเหนือมากขึ้นมุ่งหน้าไปยังเกาะไต้หวัน และประเทศจีนตอนไต้ในระยะต่อไป : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    2)Tropical Depression LINFA (03W,28.0N 122.6E,25kts): เมื่อเวลา 19.00น.วันนี้(22มิ.ย.52) พายุดีเปรสชัน LINFA (หลิ่นฟ้า/03W) ซึ่งมีศูนย์กลางปกคลุมบริเวณชายฝั่งแถบมณฑลฟูโจว ประเทศจีน… ฯ : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    <เพิ่มเติม/ความเห็น> ดีเปรสชัน 04W นั้นคาดว่าจะไม่เคลื่อนตัวเข้าสู่ประเทศไทยแต่อย่างใด เนื่องจากยังไม่พบปัจจัยใดๆที่จะเคลื่อนตัวเข้ามา มีความเป็นไปได้สูงที่จะเคลื่อนตัวลงสู่ทะเลจีนใต้ในช่วง 25มิ.ย.52 แต่อาจส่งผลต่อลักษณะอากาศในบ้านเราทางอ้อมเช่นเรื่องของมรสุมตะวันตกเฉียง ใต้ก็จะมีกำลังแรงขึ้นในภาคเหนือ อีสานตอนบน …พายุลูกนี้ก็เป็นอีกลูกหนึ่งที่น่าจับตามองว่าอาจจะเป็นพายุที่มีระดับ รุนแรงกว่า ไต้ฝุ่น LINFA ได้ ขณะที่ LINFA (03W) ล่าสุดความรุนแรงมาอยู่ที่ 25 นอต(46กิโลเมตรต่อชั่วโมง)แล้ว ทั้ง 03W และ 04W ต่างก็มีความเร็วลม 25นอตเท่ากัน ต่างกันที่ว่าลูกหนึ่ง กำลังจะสลาย อีกลูกหนึ่งกำลังจะเติบโต เกิดดับ กันไม่จบไม่สิ้น
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม INFRARED ทุกๆ 1 ชม.
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 100-150 องศาตะวันออก)
    [​IMG]
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 140-180 องศาตะวันออก)
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรเเปซิฟิคตอนเหนือด้านตะวันตก ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณประเทศญี่ปุ่น ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายแบบเต็ม ทุกๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/globe/2048x2048/ir.jpgCLICK เพื่อดูภาพขนาดใหญ่
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/animation/MPEG-2/last-120h.mpgCLICK เพื่อดูภาพถ่ายดาวเทียมเคลื่อนไหว 120 ชั่วโมงที่ผ่านมา หรือ เมื่อ 5 วันที่ผ่านมา UPDATE ทุกๆ 1 ชั่วโมง

    *******

    ภาพการคาดหมายเส้นทางการเดินพายุ ล่วงหน้า 5 วัน ทุกๆ 6 ชม.
    บริเวณพื้นที่ตาข่ายสีดำ รูปกรวย(โคน) แสดงถึง ความไม่แน่นอน/ความเป็นไปได้ที่จะได้รับผลกระทบหรือศูนย์กลางพายุอาจจะพัดผ่าน
    ***เครื่องของท่านอาจไม่ปรากฏภาพดังกล่าว ให้ CLICK ขวา > Show Picture***
    ที่มา Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC *ต้นฉบับ*
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    CIMSS Tropical Cyclones
    http://www.solar.ifa.hawaii.edu/Tropical/Gif/nwp.latest.gif


    <table width="600" bgcolor="white" border="1" bordercolor="blue" cellpadding="5" cellspacing="0"><tbody><tr><td>
    </td></tr> <tr><td> <table width="100%" align="center" border="0"> <tbody><tr><td align="left">
    </td> <td align="right"> โดยคุณ TC-04W (125.24.179.164) [22-06-2009 23:19] </td></tr> </tbody></table> </td></tr> </tbody></table>
     
  5. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Tropical Storm NANGKA (04W) : พายุโซนร้อน “นังกา” เคลื่อนตัวเข้าฟิลิปินส์แล้ว
    Tropical Storm NANGKA (04W) : พายุโซนร้อน “นังกา” เคลื่อนตัวเข้าฟิลิปินส์แล้ว
    ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น ฮาวาย, สหรัฐฯ (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    สภาวะโดยทั่วไปของพายุหมุนเขตร้อนเมื่อเวลา 13.00น.
    ประจำวันที่ 23 มิถุนายน 2552 ออกประกาศเวลา 16.00 น. ตามเวลาประเทศไทย

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ ทะเลจีนใต้ และอ่าวไทย วันที่ 23 มิถุนายน 2552 /15.00 น. ปรากฎพายุหมุนเขตร้อน 1 ลูก / หย่อมความกดอากาศต่ำ 0 ลูก
    1)Tropical Storm NANGKA (04W,11.5N 125.3E,35kts): เมื่อเวลา 07.00น.วันนี้(23มิ.ย.52) พายุดีเปรสชัน 04W มีศูนย์กลางปกคลุมใกล้ชายฝั่งฟิลิปปินส์ด้านด้านตะวันออก ได้พัฒนาเป็นพายุโซนร้อน NANGKA(นังกา/04W)แล้ว และเมื่อเวลา 13.00น.วันนี้(23มิ.ย.52)ศูนย์กลาง อยู่ที่ละติจูด 11.5 องศาเหนือ ลองจิจูด 125.3 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จากกรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ห่ างประมาณ 639 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือด้วยความเร็ว 19 นอต(35 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา. โดยมีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 35 นอต(65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวระดับน้ำทะเลประมาณ 1003 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ 3 เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดพายุโซนร้อน NANGKA (นังกา/04W) จะยังคงเคลื่อนตัวไปทางตะวันตกเฉียงเหนือต่อไปผ่านกลางหมู่เกาะฟิลิปปินส์ใน อีก 48-72 ชั่วโมงข้างหน้า หรือช่วง 25-26มิ.ย.52นี้ จากนั้นในช่วง 26 มิ.ย.52 จะเริ่มเคลื่อนตัวลงสู่ทะเลจีนใต้ตอนบนและจะทวีความรุนแรงขึ้นอีกครั้งก่อน ที่จะมุ่งหน้าไปยังเกาะไต้หวันในอีก 96-120 ชั่วโมงข้างหน้าหรือช่วง 27-28 มิ.ย.52นี้ : ประกาศ Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    <เพิ่มเติม/ความเห็น> พายุลูกนี้ยังไม่มีแนวโน้มเคลื่อนตัวเข้าสู่ประเทศไทย “เคลื่อนตัวเข้าสู่ไทย” หมายถึงศูนย์กลางเคลื่อนตัวผ่าน แต่ก็จะส่งผลต่อลักษณะอากาศทางอ้อมเช่น มรสุม และปริมาณน้ำฝนจะเพิ่มมากขึ้น
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม INFRARED ทุกๆ 1 ชม.
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 100-150 องศาตะวันออก)
    [​IMG]
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 140-180 องศาตะวันออก)
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรเเปซิฟิคตอนเหนือด้านตะวันตก ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณประเทศญี่ปุ่น ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายแบบเต็ม ทุกๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/globe/2048x2048/ir.jpgCLICK เพื่อดูภาพขนาดใหญ่
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/animation/MPEG-2/last-120h.mpgCLICK เพื่อดูภาพถ่ายดาวเทียมเคลื่อนไหว 120 ชั่วโมงที่ผ่านมา หรือ เมื่อ 5 วันที่ผ่านมา UPDATE ทุกๆ 1 ชั่วโมง

    *******

    ภาพการคาดหมายเส้นทางการเดินพายุ ล่วงหน้า 5 วัน ทุกๆ 6 ชม.
    บริเวณพื้นที่ตาข่ายสีดำ รูปกรวย(โคน) แสดงถึง ความไม่แน่นอน/ความเป็นไปได้ที่จะได้รับผลกระทบหรือศูนย์กลางพายุอาจจะพัดผ่าน
    ***เครื่องของท่านอาจไม่ปรากฏภาพดังกล่าว ให้ CLICK ขวา > Show Picture***
    ที่มา Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC *ต้นฉบับ*
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    CIMSS Tropical Cyclones
    http://www.solar.ifa.hawaii.edu/Tropical/Gif/nwp.latest.gif


    <table width="600" bgcolor="white" border="1" bordercolor="blue" cellpadding="5" cellspacing="0"><tbody><tr><td>
    </td></tr> <tr><td> <table width="100%" align="center" border="0"> <tbody><tr><td align="left">
    </td> <td align="right"> โดยคุณ TC-04W (125.24.140.117) [23-06-2009 18:40] </td></tr> </tbody></table> </td></tr> </tbody></table>
     
  6. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Tropical Storm NANGKA (04W) : พายุโซนร้อน “นังกา” ในทะเลจีนใต้ตอนกลาง
    Tropical Storm NANGKA (04W) : พายุโซนร้อน “นังกา” ในทะเลจีนใต้ตอนกลาง
    ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น ฮาวาย, สหรัฐฯ (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    สภาวะโดยทั่วไปของพายุหมุนเขตร้อนเมื่อเวลา 07.00น.
    ประจำวันที่ 25 มิถุนายน 2552 ออกประกาศเวลา 13.00 น. ตามเวลาประเทศไทย

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ ทะเลจีนใต้ และอ่าวไทย วันที่ 25 มิถุนายน 2552 /08.00 น. ปรากฎพายุหมุนเขตร้อน 1 ลูก / หย่อมความกดอากาศต่ำ 0 ลูก
    1)Tropical Storm NANGKA (04W,15.7N 118.6E,45kts): เมื่อเวลา 19.00น.วานนี้(24มิ.ย.52) พายุดีเปรสชัน 04W พายุโซนร้อน NANGKA(นังกา/04W) ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่กลางหมู่เกาะประเทศฟิลลิปปินส์ได้เคลื่อนตัวลงสู่ทะเล จีนใต้ตอนกลางแล้ว และล่าสุดเมื่อเวลา 07.00น.วันนี้(25มิ.ย.52)ศูนย์กลางเคลื่อนมา อยู่ที่ละติจูด 15.7 องศาเหนือ ลองจิจูด 116.8 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือจากกรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ห่ างประมาณ 260 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือด้วยความเร็ว 9 นอต(17 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา. โดยมีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 45 นอต(83 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวระดับน้ำทะเลประมาณ 998 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ 4 เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดพายุโซนร้อน NANGKA (นังกา/04W) จะยังคงเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือต่อไปในอีก 24 ชั่วโมงข้างหน้า จากนั้นจะเริ่มมีทิศทางเคลื่อนตัวไปทางเหนือมากขึ้นก่อนที่จะเบี่ยงตัวไปทาง ตะวันออกมุ่งหน้าไปยังข่องแคบไต้หวันในอีก 48 ชั่วโมงข้างหน้า หรือช่วงวันที่ 27มิ.ย.52(07.00น.) คาดว่าพายุจะทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นอีกก่อนมุ่งหน้าไปยังช่องแคบไต้หวัน : ประกาศ Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    <เพิ่มเติม/ความเห็น> พายุลูกนี้ยังไม่มีแนวโน้มเคลื่อนตัวเข้าสู่ประเทศไทย ทางศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น หรือ JTWC รวมทั้งสำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น(JMA)และสำนักงานอุตุนิยมวิทยาฟิลลิ ปปินส์(PASAGA) ได้คาดการณ์ว่าพายุลูกนี้มีแนวโน้มเคลื่อนตัวมุ่งหน้าไปยังระหว่างเกาะ ไต้หวันและมณฑลฟูโจว ประเทศจีน ซึ่งอาจจะมีทิศทางเคลื่อนตัวคล้ายกับ ไต้ฝุ่น LINFA (หลิ่นฟ้า/03W) เมื่อช่วงที่ผ่านมาก็ได้ สำหรับบริเวณวงสีเขียวทั้ง 2 วง นั่นคือบริเวณหย่อมความกดอากาศต่ำ ลูกหนึ่งที่อยู่ช่วงตอนบนเกิดจากแนวปะทะอากาศร้อน ลูกหนึ่งซึ่งอยู่ตอนล่างเกิดจากคลื่นกระแสลมฝ่ายตะวันออก(อีกแล้วครับ) ซึ่งมีแนวโน้มที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนในอนาคตได้
    ภาพถ่ายดาวเทียมเรืองแสงเมื่อช่วง 07.30วันนี้(25มิ.ย.52) จากภาพ CENTER คือ ศูนย์กลางพายุซึ่งมีการก่อตัวของพายุฝนฟ้าคะนองรอบๆศูนย์กลางไม่มากนัก แต่เนื่องจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลจีนใต้ตอนล่าง-ตอนกลางมี กำลังแรงขึ้น คาดว่าจะช่วยเสริมให้เกิดการก่อตัวของพายุฝนฟ้าคะนองบริเวณรอบๆศูนย์กลาง พายุเพิ่มตามไปด้วย
    [​IMG]
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม INFRARED ทุกๆ 1 ชม.
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 100-150 องศาตะวันออก)
    [​IMG]
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 140-180 องศาตะวันออก)
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรเเปซิฟิคตอนเหนือด้านตะวันตก ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณประเทศญี่ปุ่น ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายแบบเต็ม ทุกๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/globe/2048x2048/ir.jpgCLICK เพื่อดูภาพขนาดใหญ่
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/animation/MPEG-2/last-120h.mpgCLICK เพื่อดูภาพถ่ายดาวเทียมเคลื่อนไหว 120 ชั่วโมงที่ผ่านมา หรือ เมื่อ 5 วันที่ผ่านมา UPDATE ทุกๆ 1 ชั่วโมง

    *******

    ภาพการคาดหมายเส้นทางการเดินพายุ ล่วงหน้า 5 วัน ทุกๆ 6 ชม.
    บริเวณพื้นที่ตาข่ายสีดำ รูปกรวย(โคน) แสดงถึง ความไม่แน่นอน/ความเป็นไปได้ที่จะได้รับผลกระทบหรือศูนย์กลางพายุอาจจะพัดผ่าน
    ***เครื่องของท่านอาจไม่ปรากฏภาพดังกล่าว ให้ CLICK ขวา > Show Picture***
    ที่มา Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC *ต้นฉบับ*
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    CIMSS Tropical Cyclones
    http://www.solar.ifa.hawaii.edu/Tropical/Gif/nwp.latest.gif

    <table width="600" bgcolor="white" border="1" bordercolor="blue" cellpadding="5" cellspacing="0"><tbody><tr><td><table width="590" align="center" border="0"><tbody><tr><td>
    </td></tr> </tbody></table>
    </td></tr> <tr><td> <table width="100%" align="center" border="0"> <tbody><tr><td align="left">
    </td> <td align="right"> โดยคุณ TC-04W (125.24.152.148) [25-06-2009 13:26] </td></tr> </tbody></table> </td></tr> </tbody></table>

    <hr width="600" color="#ff1493">
    <table width="600" bgcolor="#e0ffff" border="1" bordercolor="#1e90ff" cellpadding="2" cellspacing="0"> <tbody><tr><td> <table width="590" align="center" border="0"> <tbody><tr><td align="left"> ความเห็นที่ 1 โดยคุณ TC-04W (125.24.152.148) [25-06-2009 13:31] #21647 </td> <td align="right">
    </td> </tr></tbody></table> <table width="590" align="center" border="0"> <tbody><tr><td>
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทร แปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ ทะเลจีนใต้ และอ่าวไทย วันที่ 25 มิถุนายน 2552 /08.00 น. ปรากฎพายุหมุนเขตร้อน 1 ลูก / หย่อมความกดอากาศต่ำ 0 ลูก
    1)Tropical Storm NANGKA (04W,15.7N 118.6E,45kts): เมื่อเวลา 19.00น.วานนี้(24มิ.ย.52) พายุดีเปรสชัน 04W พายุโซนร้อน NANGKA(นังกา/04W) ซึ่งมีศูนย์กลางอยู่กลางหมู่เกาะประเทศฟิลลิปปินส์ได้เคลื่อนตัวลงสู่ทะเล จีนใต้ตอนกลางแล้ว และล่าสุดเมื่อเวลา 07.00น.วันนี้(25มิ.ย.52)ศูนย์กลางเคลื่อนมา อยู่ที่ละติจูด 15.7 องศาเหนือ ลองจิจูด 116.8 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือจากกรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ห่ างประมาณ 260 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือด้วยความเร็ว 9 นอต(17 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา. โดยมีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 45 นอต(83 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวระดับน้ำทะเลประมาณ 998 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ 4 เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดพายุโซนร้อน NANGKA (นังกา/04W) จะยังคงเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือต่อไปในอีก 24 ชั่วโมงข้างหน้า จากนั้นจะเริ่มมีทิศทางเคลื่อนตัวไปทางเหนือมากขึ้นก่อนที่จะเบี่ยงตัวไปทาง ตะวันออกมุ่งหน้าไปยังข่องแคบไต้หวันในอีก 48 ชั่วโมงข้างหน้า หรือช่วงวันที่ 27มิ.ย.52(07.00น.) คาดว่าพายุจะทวีความรุนแรงเพิ่มขึ้นอีกก่อนมุ่งหน้าไปยังช่องแคบไต้หวัน : ประกาศ Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    <เพิ่มเติม/ความเห็น> พายุลูกนี้ยังไม่มีแนวโน้มเคลื่อนตัวเข้าสู่ประเทศไทย ทางศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น หรือ JTWC รวมทั้งสำนักงานอุตุนิยมวิทยาญี่ปุ่น(JMA)และสำนักงานอุตุนิยมวิทยาฟิลลิ ปปินส์(PASAGA) ได้คาดการณ์ว่าพายุลูกนี้มีแนวโน้มเคลื่อนตัวมุ่งหน้าไปยังระหว่างเกาะ ไต้หวันและมณฑลฟูโจว ประเทศจีน ซึ่งอาจจะมีทิศทางเคลื่อนตัวคล้ายกับ ไต้ฝุ่น LINFA (หลิ่นฟ้า/03W) เมื่อช่วงที่ผ่านมาก็ได้ สำหรับบริเวณวงสีเขียวทั้ง 2 วง นั่นคือบริเวณหย่อมความกดอากาศต่ำ ลูกหนึ่งที่อยู่ช่วงตอนบนเกิดจากแนวปะทะอากาศร้อน ลูกหนึ่งซึ่งอยู่ตอนล่างเกิดจากคลื่นกระแสลมฝ่ายตะวันออก(อีกแล้วครับ) ซึ่งมีแนวโน้มที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนในอนาคตได้
    ภาพถ่ายดาวเทียมเรืองแสงเมื่อช่วง 07.30วันนี้(25มิ.ย.52) จากภาพ CENTER คือ ศูนย์กลางพายุซึ่งมีการก่อตัวของพายุฝนฟ้าคะนองรอบๆศูนย์กลางไม่มากนัก แต่เนื่องจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ที่พัดปกคลุมทะเลจีนใต้ตอนล่าง-ตอนกลางมี กำลังแรงขึ้น คาดว่าจะช่วยเสริมให้เกิดการก่อตัวของพายุฝนฟ้าคะนองบริเวณรอบๆศูนย์กลาง พายุเพิ่มตามไปด้วย
    [​IMG]

    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  7. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <table width="600" bgcolor="white" border="1" bordercolor="blue" cellpadding="5" cellspacing="0"><tbody><tr><td align="center" bgcolor="blue"> Tropical Cyclone Formation Alert 99W : “ประกาศเตือนภัยพายุหมุนเขตร้อน” </td></tr> <tr><td>
    <table width="590" align="center" border="0"> <tbody><tr><td> Tropical Cyclone Formation Alert 99W : “ประกาศเตือนภัยพายุหมุนเขตร้อน”
    ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น ฮาวาย, สหรัฐฯ (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    สภาวะโดยทั่วไปของพายุหมุนเขตร้อนเมื่อเวลา 16.00น.
    ประจำวันที่ 9 กรกฎาคม 2552 ออกประกาศเวลา 16.30 น. ตามเวลาประเทศไทย

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ ทะเลจีนใต้ และอ่าวไทย วันที่ 22 มิถุนายน 2552 /20.30 น. ปรากฎพายุหมุนเขตร้อน 1 ลูก / หย่อมความกดอากาศต่ำ 1 ลูก
    1)Tropical Cyclone Formation Alert 99W (19.0N 125.6E,25kts): เมื่อเวลา 16.00น.วันนี้(09ก.ค.52) หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง (99W) มีศูนย์กลางปกคลุมทะเลฟิลิปปินส์ อยู่ที่ละติจูด 19.0 องศาเหนือ ลองจิจูด 125.6 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จากเมืองKAOHSIUNG ประเทศไต้หวัน ห่ างประมาณ 676 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือด้วยความเร็ว 7 นอต(13 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 18-22 นอต(33-41 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 1003 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ - เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง 99W จะมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือต่อไปอีก 24-48 ชั่วโมงข้างหน้า โดยมีทิศทางมุ่งหน้าไปยังเกาะไต้หวัน มีแนวโน้มสูงที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตในอีก 12-24 ชั่วโมงข้างหน้านี้ : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    2)Tropical Disturbance 90W(7.4N 150.5E,10-15kts): เมื่อเวลา 16.00น.วันนี้(09ก.ค.52) หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังค่อนข้างแรง 90W มีศูนย์กลางปกคลุมบริเวณหมู่เกาะปาร์ลิเกียร์หรือบริเวณกลางทะเลแปซิฟิก อยู่ที่ละติจูด 7.4 องศาเหนือ ลองจิจูด 150.5 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จากเกาะCHUUK ห่ างประมาณ 139 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือด้วยความเร็ว 7 นอต(13 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 10-15 นอต(19-28 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 1007 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ - เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังค่อนข้างแรง 90W จะมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือต่อไปอีก 24-48 ชั่วโมงข้างหน้า โดยมีทิศทางมุ่งหน้าไปยังตอนใต้ของเกาะกวม มีแนวโน้มปานกลางที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตในอีก 12-24 : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    <เพิ่มเติม/ความเห็น> หย่อมความกดอากาศต่ำทั้งสองลูกนี้ ไม่มีแนวโน้มเคลื่อนตัวเข้าสู่ประเทศไทย
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม INFRARED ทุกๆ 1 ชม.
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 100-150 องศาตะวันออก)
    [​IMG]
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 140-180 องศาตะวันออก)
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรเเปซิฟิคตอนเหนือด้านตะวันตก ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณประเทศญี่ปุ่น ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายแบบเต็ม ทุกๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/globe/2048x2048/ir.jpgCLICK เพื่อดูภาพขนาดใหญ่
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/animation/MPEG-2/last-120h.mpgCLICK เพื่อดูภาพถ่ายดาวเทียมเคลื่อนไหว 120 ชั่วโมงที่ผ่านมา หรือ เมื่อ 5 วันที่ผ่านมา UPDATE ทุกๆ 1 ชั่วโมง

    *******

    ภาพการคาดหมายเส้นทางการเดินพายุ ล่วงหน้า 5 วัน ทุกๆ 6 ชม.
    บริเวณพื้นที่ตาข่ายสีดำ รูปกรวย(โคน) แสดงถึง ความไม่แน่นอน/ความเป็นไปได้ที่จะได้รับผลกระทบหรือศูนย์กลางพายุอาจจะพัดผ่าน
    ***เครื่องของท่านอาจไม่ปรากฏภาพดังกล่าว ให้ CLICK ขวา > Show Picture***
    ที่มา Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC *ต้นฉบับ*
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    CIMSS Tropical Cyclones
    http://www.solar.ifa.hawaii.edu/Tropical/Gif/nwp.latest.gif

    *******

    ภาพถ่ายดาวเทียมเคลื่อนไหว INFRARED ของ พายุ ทุกๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
    โดยคุณ TC-99W (125.24.167.231) [09-07-2009 18:14]
     
  8. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Tropical Depression 05W #01 : “พายุดีเปรสชัน 05W บริเวณเกาะลูซอน” ฉบับที่ 1
    Tropical Depression 05W #01 : “พายุดีเปรสชัน 05W บริเวณเกาะลูซอน” ฉบับที่ 1
    ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น ฮาวาย, สหรัฐฯ (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    สภาวะโดยทั่วไปของพายุหมุนเขตร้อนเมื่อเวลา 07.00น.
    ประจำวันที่ 10 กรกฎาคม 2552 ออกประกาศเวลา 04.00 น. ตามเวลาประเทศไทย

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ ทะเลจีนใต้ และอ่าวไทย วันที่ 10 กรกฎาคม 2552 /07.30 น. ปรากฎพายุหมุนเขตร้อน 1 ลูก / หย่อมความกดอากาศต่ำ 1 ลูก
    1)Tropical Depression 05W (18.7N 120.7E,30kts): เมื่อเวลา 01.00น.วันนี้(10ก.ค.52) หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง (99W) ได้พัฒนาเป็นพายุดีเปรสชัน 05W แล้ว มีศูนย์กลางปกคลุมหัวเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปปินส์ และล่าสุดเมื่อเวลา 07.00น.วันนี้(10ก.ค.52)ศูนย์กลางพายุ อยู่ที่ละติจูด 18.7 องศาเหนือ ลองจิจูด 120.7 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จาก เกาะฮ่องกง ห่ างประมาณ 945 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกด้วยความเร็ว 14 นอต(26 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 30 นอต(56 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 1000 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ 2 เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดพายุดีเปรสชัน 05W จะเริ่มมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือมากขึ้นในอีก 6-12 ชั่วโมงข้างหน้า และจะเริ่มเคลื่อนตัวลงสู่ทะเลจีนใต้ตอนบนในอีก 12 ชั่วโมงข้างหน้าหรือช่วง 19.00น.วันนี้(10ก.ค.52) คาดว่าจะทวีความรุนแรงขึ้นเป็นพายุโซนร้อนในอีก 18 ฃั่วโมงข้างหน้า ก่อนที่จะมุ่งหน้าไปยังฮ่องกง และมณฑลกวางตุ้ง ประเทศจีนในอีก 72 ชั่วโมงข้างหน้า หรือช่วง 13 ก.ค.52 นี้ : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    2)Tropical Disturbance 90W(7.7N 149.1E,10-15kts): เมื่อเวลา 07.00น.วันนี้(10ก.ค.52) หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังค่อนข้างแรง 90W มีศูนย์กลางปกคลุมบริเวณหมู่เกาะปาร์ลิเกียร์หรือบริเวณกลางทะเลแปซิฟิก อยู่ที่ละติจูด 7.7 องศาเหนือ ลองจิจูด 149.1 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จากเกาะกวม ห่ างประมาณ 834 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือด้วยความเร็ว 7 นอต(13 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 10-15 นอต(19-28 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 1007 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ - เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังค่อนข้างแรง 90W จะมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือต่อไปอีก 24-48 ชั่วโมงข้างหน้า โดยมีทิศทางมุ่งหน้าไปยังตอนใต้ของเกาะกวม มีแนวโน้มที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตในอีก 24-48 ฃั่วโมงข้างหน้า หรือ ช่วง 11-12 ก.ค.นี้ : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    <เพิ่มเติม/ความเห็น> หย่อมความกดอากาศต่ำทั้งสองลูกนี้ ไม่มีแนวโน้มเคลื่อนตัวเข้าสู่ประเทศไทย แต่อาจส่งผลกระทบทางอ้อมกับปะะเทศไทยตอนบน ทะเลอันดามัน และอ่าวไทย เนื่องจากลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะกลับมาแรงอีกครั้ง สำหรับดีเปรสชัน 05W นั้นได้ก่อตัวในช่วงแนวมรสุมที่ผาดผ่านประเทศฟิลิปปินส์เป็นแนวยาวซึ่งอาจทำ ให้เกิดความกดอากาศต่ำอีกลูกหนึ่งได้บริเวณตะวันออกเฉียงใต้ของฟิลิปินส์
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม INFRARED ทุกๆ 1 ชม.
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 100-150 องศาตะวันออก)
    [​IMG]
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 140-180 องศาตะวันออก)
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรเเปซิฟิคตอนเหนือด้านตะวันตก ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณประเทศญี่ปุ่น ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายแบบเต็ม ทุกๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/globe/2048x2048/ir.jpgCLICK เพื่อดูภาพขนาดใหญ่
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/animation/MPEG-2/last-120h.mpgCLICK เพื่อดูภาพถ่ายดาวเทียมเคลื่อนไหว 120 ชั่วโมงที่ผ่านมา หรือ เมื่อ 5 วันที่ผ่านมา UPDATE ทุกๆ 1 ชั่วโมง

    *******

    ภาพการคาดหมายเส้นทางการเดินพายุ ล่วงหน้า 5 วัน ทุกๆ 6 ชม.
    บริเวณพื้นที่ตาข่ายสีดำ รูปกรวย(โคน) แสดงถึง ความไม่แน่นอน/ความเป็นไปได้ที่จะได้รับผลกระทบหรือศูนย์กลางพายุอาจจะพัดผ่าน
    ***เครื่องของท่านอาจไม่ปรากฏภาพดังกล่าว ให้ CLICK ขวา > Show Picture***
    ที่มา Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC *ต้นฉบับ*
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    CIMSS Tropical Cyclones
    http://www.solar.ifa.hawaii.edu/Tropical/Gif/nwp.latest.gif
     
  9. LuckyFriday

    LuckyFriday เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    221
    ค่าพลัง:
    +1,153
    สถานะการณ์หลังลมฝนกระหน่ำ
    คาดว่ายังมีอีกหลายลูก
    จะมีฝนมาก+ลมกระหน่ำ
    ให้ระมัดระวังน้ำและความรุนแรงของลม

    ภาพถ่ายจากดาวเทียม GOES-9 IR
    [​IMG]
    ภาพถ่ายจากดาวเทียม GOES-9 IR1
    [​IMG]
    ภาพถ่ายสภาพพายุจาก Asia Satellite (Weather Channel)
    [​IMG]
    ภาพถ่ายสภาพพายุจาก East Asia Satellite (Weather Channel)
    [​IMG]
    ภาพถ่ายสภาพพายุจาก India Satellite (Weather Channel)
    [​IMG]
    ภาพแผนที่แสดงเส้นทางเดินของพายุบริเวณ North Indian (University of Hawai`i)
    [​IMG]
    ภาพแผนที่แสดงเส้นทางเดินของพายุบริเวณ North West Pacific (University of Hawai`i)
    [​IMG]
    ภาพแผนที่แสดงศักยภาพการเกิดน้ำท่วมโดย NASA
    [​IMG]
    [​IMG]
    ภาพแผนที่แสดงศักยภาพการเกิดน้ำท่วมโดย NASA (24 ชั่วโมง)
    [​IMG]
    ภาพแผนที่แสดงศักยภาพการเกิดน้ำท่วมโดย NASA (72 ชั่วโมง)
    [​IMG]
    ภาพแผนที่แสดงศักยภาพการเกิดน้ำท่วมโดย NASA (168 ชั่วโมง)
    [​IMG]
    ภาพแผนที่แสดงความกดอากาศโดย CNN


    [​IMG]
     
  10. LuckyFriday

    LuckyFriday เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    221
    ค่าพลัง:
    +1,153
    แวะมาช่วยโพสแทนยายอ๋อFalkman

    เป็นเพราะอุณหภูมิรอบๆทะเลบ้านเราทั้ง2ฝั่งมันสูงขึ้น
    เพราะฉะนั้นปีนี้เราเป็นเจ้าภาพการก่อเกิดพายุ
    ให้ระมัดระวังลมพัดหวน อันตรายจากแรงลม
    และฝนตกในระดับต่ำ
    -ฝนเม็ดเล็กตกจากเมฆสูงๆ
    -ฝนเม็ดใหญ่ตกจากเมฆที่ไม่สูง(ตกนานๆเสียหายมาก)


    <TABLE class=CHANNEL cellSpacing=1><TBODY><TR><TH>MTSAT-1R (IR1)</TH><TH>MTSAT-1R (IR2)</TH></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR><TR><TH>MTSAT-1R (IR3)</TH><TH>MTSAT-1R (IR4)</TH></TR><TR><TD>[​IMG]</TD><TD>[​IMG]</TD></TR></TBODY></TABLE>
    ภาพแผนที่แสดงเส้นทางเดินของพายุบริเวณ North West Pacific
    [​IMG]




    <HR width=1000>ภาพแผนที่แสดงเส้นทางเดินของพายุบริเวณ North Indian
    [​IMG]




    <HR width=1000>ภาพแผนที่แสดงเส้นทางเดินของพายุบริเวณ South West Pacific (Australia)
    [​IMG]




    <HR width=1000>ภาพแผนที่แสดงเส้นทางเดินของพายุบริเวณ Atlantic Ocean
    [​IMG]




    <HR width=1000>Global Sea Surface Temperatures.
    [​IMG]




    <HR width=1000>ภาพแผนที่แสดงความกดอากาศโดยกรมอุตุนิยมวิทยา

    รูปนี้ประเทศจีนน่าจะงานเข้า เข้าเยอะ เข้ายาว ใครมีญาติพี่น้อง ก็โทรไปเตือนๆ
    [​IMG]
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 14 กรกฎาคม 2009
  11. LuckyFriday

    LuckyFriday เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    221
    ค่าพลัง:
    +1,153
    Tropical Cyclone Formation Alert 91W : “ประกาศเตือนภัยพายุหมุนเขตร้อน (91W)”
    ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น ฮาวาย, สหรัฐฯ

    (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    สภาวะโดยทั่วไปของพายุหมุนเขตร้อนเมื่อเวลา 01.00น.
    ประจำวันที่ 14 กรกฎาคม 2552

    ออกประกาศเวลา 04.00 น. ตามเวลาประเทศไทย

    ภาพถ่ายดาวเทียม

    บริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ ทะเลจีนใต้ และอ่าวไทย
    วันที่ 14 กรกฎาคม 2552 /02.30 น.
    ปรากฎพายุหมุนเขตร้อน 1 ลูก / หย่อมความกดอากาศต่ำ 3 ลูก
    1)Tropical Cyclone Formation Alert 91W

    (8.0N 132.2E,15-20kts):
    เมื่อเวลา 01.00น.วันนี้(14ก.ค.52)
    หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง 91W
    ซึ่งมีศูนย์กลางปกคลุมเกาะปาเลา
    มีศูนย์กลางพายุ อยู่ที่ละติจูด 8.0 องศาเหนือ ลองจิจูด 132.2 องศาตะวันออก หรือมี
    ศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือจากเกาปาเลา
    ห่ างประมาณ 278 กิโลเมตร.
    กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือเล็กน้อยด้วยความเร็ว 11 นอต(20 กิโลเมตรต่อชั่วโมง)
    เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 15-20 นอต(28-37 กิโลเมตรต่อชั่วโมง)
    ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 1005 มิลลิบาร์
    คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ - เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา /
    คาดหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง 91W
    จะมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือเล็กน้อยต่อไปอีก 12-24 ชั่วโมงข้างหน้า
    จากนั้นจะเริ่มเคลื่อนตัวไปทางเหนือมากขึ้นตามแนวปะทะอากาศเขตร้อน
    มีแนวโน้มสูงที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนในอีก 12-24 ชั่วโมงนี้
    หรือภายในวันนี้ 14ก.ค.52 :
    ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )

    2)Tropical Depression 06W(24.2N 119.4E,30kts):
    เมื่อเวลา 01.00น.วันนี้(14ก.ค.52) ดีเปรสชันเขตร้อน 06W
    ซึ่งมีศูนย์กลางปกคลุมเกาะไต้หวันได้เคลื่อนตัวลงสู่ช่องแคบไต้หวันแล้ว
    มีศูนย์กลางพายุ อยู่ที่ละติจูด 24.2 องศาเหนือ ลองจิจูด 119.4 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จากกรุงไทเป ประเทศไต้หวัน
    ห่ างประมาณ 222 กิโลเมตร.
    กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือด้วยความเร็ว 7 นอต(13 กิโลเมตรต่อชั่วโมง)
    เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 30 นอต(56 กิโลเมตรต่อชั่วโมง)
    ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 998 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ 2 เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา /
    คาดดีเปรสชันเขตร้อน 06W จะมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือต่อไปอีก 12-24 ชั่วโมงข้างหน้า คาดว่าศูนย์กลางพายุนี้จะเคลื่อนตัวเข้าสู่ชายฝั่งมณฟูโจว ประเทศจีนในอีก 12 ชั่วโมงข้างหน้าหรือช่วงประมาณ 13.00น.วันนี้(14ก.ค.52) :
    ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC)
    3)Tropical Disturbance 94W (15.5N 115.5E,15kts): เมื่อเวลา 01.00น.วันนี้(14ก.ค.52)
    หย่อมความกดอากาศต่ำ 94W ซึ่งมีศูนย์กลางปกคลุมทะเลจีนใต้ตอนกลาง อยู่ที่ละติจูด 15.5 องศาเหนือ ลองจิจูด 115.5 องศาตะวันออก
    หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงใต้จากเกาะไหหลำ ห่ างประมาณ - กิโลเมตร.
    กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือเล็กน้อยด้วยความเร็ว 1 นอต(2 กิโลเมตรต่อชั่วโมง)
    เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมาโดยพายุเกือบไม่เคลื่อนที่เลย . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 15 นอต(28 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 1010 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ - เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา /
    คาดหย่อมความกดอากาศต่ำ 94W จะยังคงเกือบไม่เคลื่อนที่ต่อไปอีก 24 ชั่วโมงข้างหน้า คาดว่าจะมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือต่อไปอีก 48 ชั่วโมงข้างหน้า ยังไม่มีแนวโน้มที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนใน 24 ชั่วโมงนี้ : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )

    4)Tropical Disturbance 93W (7.2N 139.2E,15kts): เมื่อเวลา 01.00น.วันนี้(14ก.ค.52) หย่อมความกดอากาศต่ำ 93W
    ซึ่งมีศูนย์กลางปกคลุมบริเวณหมู่เกาะไมโครนีเซีย
    อยู่ที่ละติจูด 7.2 องศาเหนือ ลองจิจูด 139.2 องศาตะวันออก
    หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จากเกาะกวม
    ห่ างประมาณ - กิโลเมตร.
    กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือเล็กน้อยด้วยความเร็ว 10 นอต(19 กิโลเมตรต่อชั่วโมง)
    เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 15 นอต(28 กิโลเมตรต่อชั่วโมง)
    ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 1010 มิลลิบาร์
    คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ - เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา /
    คาดหย่อมความกดอากาศต่ำ 93W จะมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือเล็กน้อยต่อไปอีก 24-48 ชั่วโมงข้างหน้า
    ยังไม่มีแนวโน้มที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนใน 24 ชั่วโมงนี้ :
    ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น
    (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )

    <เพิ่มเติม/ความเห็น>
    ดีเปรสชัน 06W ไม่มีผลกระทบต่อประเทศไทยแน่นอน
    แต่ที่น่าห่วงก็คือ หย่อม 91W นั้นมีความเป็นไปได้สูงที่จะเคลื่อนตัวลงสู่ทะเลจีนใต้ในช่วสัปดาห์หน้านี้หรือประมาณ 20ก.ค.52 เป็นต้นไป
    ประกอบล่าสุดได้มีหย่อมความกดอากาศต่ำ 94W ได้ก่อตัวขึ้นตามร่องมรสุมนี้

    หย่อมตัวนี้ได้เริ่มก่อตัวตั้งแต่เมื่อ 07.00น.วานนี้(13ก.ค.52) ซึ่งจะส่งกระทบต่อประเทศไทยทั้งภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ ภาคกลาง และบริเวณด้านรับมรสุม ภาคตะวันออก ภาคใต้ รวมทั้งคลื่อนลมในอ่าวไทย

    ลักษณะเช่นนี้จะทำให้ในช่วงตลอดครึ่งเดือนหลังโดยเฉลี่ยทั่วประเทศเกิดฝนตกชุก และลมกระโชกแรงได้

    สำหรับหย่อม 94W นั้นหากได้พัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนจริง มีความเป็นไปได้ที่ศูนย์กลางพายุจะเคลื่อนตัวเข้าสู่ประเทศไทย แต่ตอนนี้ยังไม่มีความแน่ชัดสำหรับหย่อมลูกนี้เนื่องจาก พายุไม่เคลื่อนที่เลย /

    สำหรับวงเขียวคือบริเวณที่มีความเป็นไปได้ที่จะพัฒนาเป็นพายุเขตร้อนในอนาคต ส่วน 93W คิดว่ายังคงอ่อนกำลังต่อไปอีก 48 ชั่วโมงข้างเนื่องจากศูนย์กลางอยู่ใกล้ 91W มากเกินไป ไว้แค่นี้ก่อนไม่มีเวลาครับ
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม INFRARED ทุกๆ 1 ชม.
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 100-150 องศาตะวันออก)
    [​IMG]
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 140-180 องศาตะวันออก)
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรเเปซิฟิคตอนเหนือด้านตะวันตก ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณประเทศญี่ปุ่น ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายแบบเต็ม ทุกๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ที่มา Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC *ต้นฉบับ*
    [​IMG]
    ภาพถ่ายดาวเทียม ENHANCED INFRARED ของพายุ (ทุกๆ 1ชั่วโมง) บ่งบอกถึงระดับความรุนแรงที่ศูนย์กลางพายุ
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม AVN COLOR ของพายุ (ทุกๆ 1ชั่วโมง) บ่งบอกถึงระดับความเร็วลมของพายุ
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม WATER VAPOR ของพายุ (ทุกๆ 1ชั่วโมง) บ่งบอกถึงระดับความหนาแน่นของเมฆฝนของพายุ
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม FUNKTOP ของพายุ (ทุกๆ 1ชั่วโมง) บ่งบอกถึงระดับความรุนแรงของฝนและปริมาณน้ำฝนของพายุบริเวณต่างๆ
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม BLACK and WHITE (ทุกๆ 1ชั่วโมง) บ่งบอกถึงค่าระดับความรุนแรงของพายุ(DVORAK) เช่น ส่วนโค้ง ลมดิ่ง ปริมาณเมฆฝนที่ศูนย์กลาง กำแพงตาพายุ และตาพายุ
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม JSL ของพายุ (ทุกๆ 1ชั่วโมง) เป็นการแบ่งระดับความรุนแรงของพายุในบริเวณต่างๆ
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม RAINBOW ของพายุ (ทุกๆ 1ชั่วโมง) บ่งบอกถึงระดับอุณหภูมิที่พื้นผิวเมฆและชั้นบรรยากาศของพายุ
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม INFRARED ของพายุ (ทุกๆ 1ชั่วโมง)
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม VISIBLE ของพายุ (ทุกๆ 1ชั่วโมง) เป็นภาพถ่ายดาวเทียมแบบเห็นจริง เฉพาะเวลากลางวันเนื่องจากการหมุนของโลก และแสงอาทิตย์
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม RGB ของพายุ (ทุกๆ 1ชั่วโมง) เป็นภาพถ่ายดาวเทียมเรืองแสงสามารถเห็นได้ทั้งกลางวันและกลางคืนแม้ไม่มีแสงอาทิตย์สาดส่อง

    [​IMG]
     
  12. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Tropical Depression 07W (NONAME) #01 : ประกาศเรื่อง “ดีเปรสชันเขตร้อน 07W” ฉบับที่ 1
    Tropical Depression 07W (NONAME) #01 : ประกาศเรื่อง “ดีเปรสชันเขตร้อน 07W” ฉบับที่ 1
    ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น ฮาวาย, สหรัฐฯ (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    สภาวะโดยทั่วไปของพายุหมุนเขตร้อนเมื่อเวลา 13.00น.
    ประจำวันที่ 15 กรกฎาคม 2552 ออกประกาศเวลา 16.00 น. ตามเวลาประเทศไทย

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ ทะเลจีนใต้ และอ่าวไทย วันที่ 15 กรกฎาคม 2552 /15.00 น. ปรากฎพายุหมุนเขตร้อน 1 ลูก / หย่อมความกดอากาศต่ำ 1 ลูก
    1)Tropical Depression 07W (14.6N 127.7E,25kts): เมื่อเวลา 13.00น.วันนี้(15ก.ค.52) หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังแรง 91W ซึ่งมีศูนย์กลางปกคลุมทะเลฟิลิปปินส์ได้พัฒนาเป็นดีเปรสชันเขตร้อน 07W แล้ว ศูนย์กลางพายุ อยู่ที่ละติจูด 14.6 องศาเหนือ ลองจิจูด 127.7 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกจากกรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ห่ างประมาณ 714 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 20 นอต(37 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 25 นอต(46 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 1003 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ 2 เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดดีเปรสชันเขตร้อน 07W จะมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือต่อไปอีก 12-24 ชั่วโมงข้างหน้า จากนั้นจะเริ่มเปลี่ยนทิศทางเคลื่อนตัวไปทางตะวันออกมากขึ้น คาดว่าพายุนี้จะมุ่งหน้าไปยังทะเลจีนใต้ตอนบน ในอีก 72 ชั่วโมงข้างหน้าหรือช่วง 18ก.ค.52นี้ มีแนวโน้มที่ศูนย์กลางพายุจะเคลื่อนตัวไปยังหัวเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปินส์ เกาะฮ่องกง และเกาะไต้หวันตามลำดับ : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    2) Tropical Disturbance 06W(NONAME,26.0N 119.0E,10kts): เมื่อเวลา 07.00น.วันนี้(15ก.ค.52) หย่อมความกดอากาศต่ำ 06W ซึ่งได้อ่อนกำลังลงจากดีเปรสชันวานนี้(14ก.ค.52) ล่าสุดได้สลายตัวแล้ว มีศูนย์กลางปกคลุมมณฑลอูฮั่น ประเทศจีน อยู่ที่ละติจูด 26.0 องศาเหนือ ลองจิจูด 119.0 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันตกจากเมืองเซี่ยงไฮ้ ประเทศจีน ห่ างประมาณ - กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศเหนือด้วยความเร็ว 0 นอต(0 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา. โดยมีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 0 นอต(0 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวระดับน้ำทะเลประมาณ - มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ 0 เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาด - : ประกาศ Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    3)Tropical Disturbance 94W (18.9N 113.4E,12-17kts): เมื่อเวลา 13.00น.วันนี้(15ก.ค.52) หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังค่อนข้างแรง 94W มีศูนย์กลางปกคลุมทะเลจีนใต้ตอนกลาง อยู่ที่ละติจูด 18.9 องศาเหนือ ลองจิจูด 113.4 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จากเกาะฮ่องกง ห่ างประมาณ 389 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือเล็กน้อยด้วยความเร็ว 1 นอต(2 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมาโดยพายุเกือบไม่เคลื่อนที่เลย . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 12-17 นอต(22-32 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 1006 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ - เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังค่อนข้างแรง 94W จะยังคงมีทิศทางเคลื่อนตัวไปทางตะวันตกค่อนทางเหนือเล็กน้อยต่อไป 24 ชั่วโมงข้างหน้า คาดว่าจะมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือต่อไปอีก 48 ชั่วโมงข้างหน้า มีแนวโน้มที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนใน 48-72 ชั่วโมงนี้ : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    <เพิ่มเติม/ความเห็น> ดีเปรสชัน 07W ยังไม่มีแนวโน้มเคลื่อนตัวเข้าสู่ไทย แต่สำหรับหย่อมฯ94W มีแนวโน้มที่ศูนย์กลางพายุจะเคลื่อนตัวเข้าสู่ไทย 10 เปอร์เซ็น ในช่วงสัปดาห์หน้า
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม INFRARED ทุกๆ 1 ชม.
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 100-150 องศาตะวันออก)
    [​IMG]
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 140-180 องศาตะวันออก)
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรเเปซิฟิคตอนเหนือด้านตะวันตก ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณประเทศญี่ปุ่น ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายแบบเต็ม ทุกๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/globe/2048x2048/ir.jpgCLICK เพื่อดูภาพขนาดใหญ่
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/animation/MPEG-2/last-120h.mpgCLICK เพื่อดูภาพถ่ายดาวเทียมเคลื่อนไหว 120 ชั่วโมงที่ผ่านมา หรือ เมื่อ 5 วันที่ผ่านมา UPDATE ทุกๆ 1 ชั่วโมง

    *******

    ภาพการคาดหมายเส้นทางการเดินพายุ ล่วงหน้า 5 วัน ทุกๆ 6 ชม.
    บริเวณพื้นที่ตาข่ายสีดำ รูปกรวย(โคน) แสดงถึง ความไม่แน่นอน/ความเป็นไปได้ที่จะได้รับผลกระทบหรือศูนย์กลางพายุอาจจะพัดผ่าน
    ***เครื่องของท่านอาจไม่ปรากฏภาพดังกล่าว ให้ CLICK ขวา > Show Picture***
    ที่มา Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC *ต้นฉบับ*
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    CIMSS Tropical Cyclones
    http://www.solar.ifa.hawaii.edu/Tropical/Gif/nwp.latest.gif

    *******
    โดยคุณ TC-07W (125.24.99.230) [15-07-2009 18:21]

     
  13. Kongp

    Kongp เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    29 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    1,696
    ค่าพลัง:
    +3,909
    ปีนี้คิดว่าน้ำมากครับ

    ผมวางแผนล่วงหน้า กับกลุ่มออฟโรดไว้แล้ว ว่าจะไปร่วมกันช่วยเหลือ ผู้ประสพภัยน้ำท่วมเหมือนเดิม อย่างที่เคยทำมา ครับ
     
  14. kananun

    kananun เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    11 พฤษภาคม 2006
    โพสต์:
    10,282
    ค่าพลัง:
    +114,775

    ลองแปลนกันดูครับ ไม่แน่อาจเป็นขบวนอพยพเอาก็ได้หากฝนตกหนักและน้ำไม่ลด

    ปีนี้เริ่มเห็นภัยพิบัติชัดเจนขึ้นแล้วครับ ทุกๆด้าน
     
  15. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <table width="600" bgcolor="white" border="1" bordercolor="blue" cellpadding="5" cellspacing="0"><tbody><tr><td align="center" bgcolor="blue"> Tropical Storm 07W (NONAME) #04 : ประกาศเรื่อง “พายุโซนร้อน 07W” ฉบับที่ 4 </td></tr> <tr><td>
    <table width="590" align="center" border="0"> <tbody><tr><td> Tropical Storm 07W (NONAME) #04 : ประกาศเรื่อง “พายุโซนร้อน 07W” ฉบับที่ 4
    ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น ฮาวาย, สหรัฐฯ (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    สภาวะโดยทั่วไปของพายุหมุนเขตร้อนเมื่อเวลา 07.00น.
    ประจำวันที่ 16 กรกฎาคม 2552 ออกประกาศเวลา 10.00 น. ตามเวลาประเทศไทย

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ ทะเลจีนใต้ และอ่าวไทย วันที่ 16 กรกฎาคม 2552 /08.00 น. ปรากฎพายุหมุนเขตร้อน 1 ลูก / หย่อมความกดอากาศต่ำ 1 ลูก
    1)Tropical Storm 07W (16.8N 125.5E,35kts): เมื่อเวลา 01.00น.วันนี้(15ก.ค.52) ดีเปรสชันเขตร้อน 07W ซึ่งมีศูนย์กลางปกคลุมทะเลฟิลิปปินส์ ได้พัฒนาเป็นพายุโซนร้อน แล้ว ศูนย์กลางพายุ ล่าสุดเมื่อ 07.00น.วันนี้(16ก.ค.52)ศูนย์กลาง อยู่ที่ละติจูด 16.8 องศาเหนือ ลองจิจูด 125.5 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือจากกรุงมะนิลา ประเทศฟิลิปปินส์ ห่ างประมาณ 547 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ 10 นอต(19 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 35 นอต(65 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 997 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ 3 เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดพายุโซนร้อน 07W จะมีทิศทางการเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือต่อไปอีก 12-24 ชั่วโมงข้างหน้า คาดว่าศูนย์กลางพายุจะมีทิศทางเคลื่อนตัวเข้าใกล้หัวเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปินส์มากที่สุดในอีก 24 ชั่วโมงข้าง หรือช่วง 07.00นซ.พรุ่งนี้(17ก.ค.52) ก่อนที่จะมุ่งหน้าไปยังทะเลจีนใต้ตอนบน และมีแนวโน้มที่ศูนย์กลางพายุจะเคลื่อนตัวไปผ่านหัวเกาะลูซอน ประเทศฟิลิปินส์ เกาะฮ่องกง และเกาะไต้หวันตามลำดับ : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    2)Tropical Disturbance 94W (19.4N 108.1E,12-17kts): เมื่อเวลา 07.00น.วันนี้(16ก.ค.52) หย่อมความกดอากาศต่ำกำลังค่อนข้างแรง 94W มีศูนย์กลางปกคลุมทะเลจีนใต้ตอนบน อยู่ที่ละติจูด 19.4 องศาเหนือ ลองจิจูด 108.1 องศาตะวันออก หรือมีศูนย์กลางอยู่ทางทิศตะวันตกเฉียงใต้จากเกาะฮ่องกง ห่ างประมาณ 389 กิโลเมตร. กำลังเคลื่อนตัวไปทางทิศตะวันตกค่อนทางเหนือเล็กด้วยความเร็ว 14 นอต(26 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) เมื่อ 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา . มีความเร็วลมสูงสุดใกล้ศูนย์กลางประมาณ 12-17 นอต(22-32 กิโลเมตรต่อชั่วโมง) ความกดอากาศที่พื้นผิวน้ำทะเลประมาณ 1006 มิลลิบาร์ คลื่นทะเลสูงสุดประมาณ - เมตรในช่วง 6 ชั่วโมงที่ผ่านมา / คาดหย่อมความกดอากาศต่ำกำลังค่อนข้างแรง 94W จะยังคงมีทิศทางเคลื่อนตัวไปทางตะวันตกค่อนทางเหนือต่อไป 24 ชั่วโมงข้างหน้า มีแนวโน้มที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนใน 48-72 ชั่วโมงนี้ : ประกาศศูนย์ร่วมการเตือนภัยไต้ฝุ่น (Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC )
    <เพิ่มเติม/ความเห็น> พายุ 07W ยังไม่มีแนวโน้มเคลื่อนตัวเข้าสู่ไทย แต่สำหรับหย่อมฯ94W มีแนวโน้มที่ศูนย์กลางพายุจะเคลื่อนตัวเข้าสู่ภาคอีสานไทย 20 เปอร์เซ็น ในช่วง 1-2 วันนี้ โดย 94W ก็จะส่งผลให้ประเทศไทยตอนบน โดยเฉพาะอีสานตอนบนมีฝนตกชุกหนาแน่นได้ในช่วง 16-22 ก.ค.52 นี้ / สำหรับบริเวณวงสีเขียว คือบริเวณที่มีแนวโน้มที่จะพัฒนาเป็นพายุหมุนเขตร้อนในอนาคต
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียม INFRARED ทุกๆ 1 ชม.
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 100-150 องศาตะวันออก)
    [​IMG]
    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรแปซิฟิคด้านตะวันตกตอนเหนือ (ช่วง ลองจิจูดที่ 140-180 องศาตะวันออก)
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรอินเดียตอนเหนือ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณมหาสมุทรเเปซิฟิคตอนเหนือด้านตะวันตก ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายดาวเทียมบริเวณประเทศญี่ปุ่น ทุก ๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]

    ภาพถ่ายแบบเต็ม ทุกๆ 1 ชั่วโมง
    [​IMG]
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/globe/2048x2048/ir.jpgCLICK เพื่อดูภาพขนาดใหญ่
    http://agora.ex.nii.ac.jp/digital-typhoon/latest/animation/MPEG-2/last-120h.mpgCLICK เพื่อดูภาพถ่ายดาวเทียมเคลื่อนไหว 120 ชั่วโมงที่ผ่านมา หรือ เมื่อ 5 วันที่ผ่านมา UPDATE ทุกๆ 1 ชั่วโมง

    *******

    ภาพการคาดหมายเส้นทางการเดินพายุ ล่วงหน้า 5 วัน ทุกๆ 6 ชม.
    บริเวณพื้นที่ตาข่ายสีดำ รูปกรวย(โคน) แสดงถึง ความไม่แน่นอน/ความเป็นไปได้ที่จะได้รับผลกระทบหรือศูนย์กลางพายุอาจจะพัดผ่าน
    ***เครื่องของท่านอาจไม่ปรากฏภาพดังกล่าว ให้ CLICK ขวา > Show Picture***
    ที่มา Joint Typhoon Warning Center หรือ JTWC *ต้นฉบับ*
    [​IMG]
    [​IMG]
    [​IMG]
    CIMSS Tropical Cyclones
    http://www.solar.ifa.hawaii.edu/Tropical/Gif/nwp.latest.gif

    *******
    </td></tr></tbody></table></td></tr></tbody></table>
     
  16. sutatip_b

    sutatip_b เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    13 สิงหาคม 2007
    โพสต์:
    3,197
    ค่าพลัง:
    +26,189
    ให้จับตาเรื่องน้ำท่วมสักแค่เข่าหรือครึ่งเข่า
    ถ้าเกิดจริงคนอาจนึกว่าเดี๋ยวก็ลด
    แต่ถ้ามันไม่ลด... รถแช่น้ำนานๆ ก็เสียหาย
    ดอกเบี้ยต่ำ คนไปซื้อพันธบัตรหวังดอกเบี้ยเบื้องหน้า แต่ทำให้เงินสดหมุนเวียนขาดมือหากจำเป็น
    น้ำมันก็เริ่มขึ้นราคา...

    ขอบคุณคุณ falkman ที่ให้ข้อมูลพายุสม่ำเสมอค่ะ
    มีคนคิดว่า falkman หล่อ...
    ใช่แล้ว หล่อมั่กๆ อิอิ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 กรกฎาคม 2009
  17. LuckyFriday

    LuckyFriday เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    221
    ค่าพลัง:
    +1,153
    ดูนี่ด้วย
    http://www.goes.noaa.gov/sohemi/sohemiloops/shirgmsw.html
    มีเพื่อนแจ้งอยู่ อีสาน เหนือ
    มีเพื่อนแจ้งต่อๆกันไปด้วย...แจ้งต่อๆกันไป

    ถ้าฝนตกเม็ดใหญ่
    โอกาสน้ำท่วมมีเยอะ.
    .แสดงว่าเมฆต่ำ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 16 กรกฎาคม 2009
  18. LuckyFriday

    LuckyFriday เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    9 ตุลาคม 2006
    โพสต์:
    221
    ค่าพลัง:
    +1,153
    ฝากทุกๆท่านสมาชิกช่วยแจ้ง พี่ เพื่อน พี่น้องญาติๆ ว่าให้เฝ้าระวังให้มากถึง

    มากที่สุดตั้งแต่วันนี้ถึง 8สิงหาคม

    เกี่ยวกับ ลม ฝน น้ำ อะไรที่เตรียมพร้อมไว้ได้ก็ให้เตรียมไว้ก่อน...บรรยากาศ ไม่ค่อยดีน่ากังวลใจมากในทุกๆภาค

    http://www.goes.noaa.gov/sohemi/sohemiloops/shirgmsw.html

    ผมโพสตอนหัวค่ำครั้งนึงแต่ไม่ขึ้นป่านนี้ฝนคงตกแล้ว



    ให้ระวัง หางของพายุ และ หางที่หลุดจากวงพายุหรือหย่อมความกดอากาศ

    ฝนที่ตกเม็ดใหญน่าจะมาจากเมฆที่อยู่ต่ำ..โอกาสน้ำท่วมฉับพลันมีมากให้ระวังสังเกตให้มาก ขอรับ
     
    แก้ไขครั้งล่าสุด: 17 กรกฎาคม 2009
  19. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ยังไม่ตกตาอ้อ แต่มืดๆ มาแระ แป่วๆ
     
  20. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <big>2009-07-17 05:09:07 - Extreme Weather - Myanmar (Burma)</big>

    EDIS CODE: ST-20090717-22410-MMR
    Date & Time: 2009-07-17 05:09:07 [UTC]
    Area: Myanmar (Burma), MultiStates, States of Kayin, Shan,

    <fieldset style="border: 1px solid Maroon; background-color: Yellow; font-family: Verdana,Geneva,Arial,Helvetica,sans-serif; font-size: 10px; font-style: normal; font-variant: normal; font-weight: bolder; color: Red; text-align: center; text-decoration: blink; vertical-align: middle;">!!! WARNING !!!</fieldset>

    <small>Number of death person(s): 4
    Damage level: Heavy (Level 3)
    </small>
    Not confirmed information!
    Description:
    Flood, triggered by torrential rains, struck Myanmar's Kayin state and Tanintharyi division early this week, both causing great losses, the state newspaper reported Friday. Some highways and railways in Kayin state were flooded and some households displaced as a result of the torrential rains on Mondayand Tuesday. The torrential rains also caused landslide in some areas of Kawkareik-Myawaddy road and banks erosion at some bridges on Dawei-Mawlamyine road in Tanintharyi division. Moreover, heavy rain caused overflow in Maesai Creek in Tachilek, in eastern part of Shan state. Some houses in Phakant were flooded and the villagers were evacuated. The continuous torrential rain has overflowed the Uru Creek, washing away 24 houses with 90 others remaining in water. Meanwhile, two days' continuous rainfall last month had also caused a landslide in Kawthoung, southern Myanmar's Tanintharyi division, leaving four people dead. The four people, a mother and three children, were killed asleep when a large stone rolling down from a nearby mountain.
     

แชร์หน้านี้

Loading...