ภูเขาไฟ ที่กำลังปะทุ !!!!!!!!!!!

ในห้อง 'ภัยพิบัติและการเตรียมการ' ตั้งกระทู้โดย Falkman, 27 มกราคม 2007.

  1. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ฟิลิปปินส์ มีภูเขาไฟเยอะมาก Falkman เคยไปมาอยู่ที่นึง

    ภูเขาไฟที่ฟิลิปปินส์มีที่ active อยู่หลายที่นะ อย่างเมื่อปีกว่าๆ ที่เกิดภูเขาไฟระเบิดแล้วมีพายุเข้า พายุหอบเอาเถ้าถ่านภูเขาไฟ ผสมกับน้ำ เป็นขี้โคลนทับคนตายเยอะมาก

    เดี๋ยวนี้ภัยพิบัติ มาแบบแปลกๆ ไม่ค่อยเป็นแบบ ธรรมดา แล้ว
     
  2. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ภาพสภาพบริเวณที่ภูเขาที่บาหลีไฟระเบิด (เมื่อ 5 ปีที่แล้ว) รอบๆ ภูเขาไฟยังไม่มีต้นไม้ขึ้น ยังเป็นเถ้าถ่าน
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • IMG_7215.JPG
      IMG_7215.JPG
      ขนาดไฟล์:
      302.4 KB
      เปิดดู:
      713
    • IMG_7219.JPG
      IMG_7219.JPG
      ขนาดไฟล์:
      270.9 KB
      เปิดดู:
      229
    • IMG_7221.JPG
      IMG_7221.JPG
      ขนาดไฟล์:
      245.4 KB
      เปิดดู:
      236
    • IMG_7222.JPG
      IMG_7222.JPG
      ขนาดไฟล์:
      212.8 KB
      เปิดดู:
      241
    • IMG_7224.JPG
      IMG_7224.JPG
      ขนาดไฟล์:
      260.9 KB
      เปิดดู:
      239
  3. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ส่วนรูปนี้เป็นรูปภูเขาไฟ ที่ไม่ active แล้ว ชื่อ Tagaytay ที่ฟิลิปปินส์ รอบๆ ภูเขาไฟเป็นน้ำ ไม่รู้เกิดจากตอนมันระเบิดป่าว (ไม่แน่ใจ)

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

    • Tagatay2.jpg
      Tagatay2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      94.8 KB
      เปิดดู:
      1,758
    • Tagaytay2.jpg
      Tagaytay2.jpg
      ขนาดไฟล์:
      74.1 KB
      เปิดดู:
      198
    • Tagaytay`.jpg
      Tagaytay`.jpg
      ขนาดไฟล์:
      73 KB
      เปิดดู:
      187
  4. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <big>2008-06-13 05:42:05 - Volcano Activity - New Zealand</big>

    <code> GLIDE CODE: VA-20080613-17160-NZL
    Date & Time: 2008-06-13 05:42:05 [UTC]
    Area: New Zealand, , White Island,

    </code><fieldset style="border: 1px solid Maroon; background-color: Yellow; font-family: Verdana,Geneva,Arial,Helvetica,sans-serif; font-size: 10px; font-style: normal; font-variant: normal; font-weight: bolder; color: Red; text-align: center; text-decoration: blink; vertical-align: middle;">!!! WARNING !!!</fieldset>

    Description:

    Scientists warned tourists against travelling to White Island, New Zealand's biggest and most active volcano, on Thursday following an earthquake measuring 5.4 on the Richter scale which shook the region. The quake was centred only five kilometres below the sea, 10 kilometres south-west of the island which sits nearly 50 kilometres off Whakatane on the east coast of the North Island. Brad Scott, duty vulcanologist at the GeoNet organisation which monitors the country's seismic activity, told Radio New Zealand a large number of aftershocks made it difficult to establish immediately the state of the volcano. As a result, the agency recommended against visits to the island until at least early next week. Although the island is owned privately, more than 10,000 tourists go there every year on daily tours. The island's volcano was in a state of frequent eruption between 1976 and 2000 and the crater is continually active. About 70 per cent of the volcano is under the sea and GeoNet monitors its activity closely because a major eruption could create a tsunami that would devastate low-lying areas of the coast on the Bay of Plenty. New Zealand's largest colony of gannets inhabit the island, which was named White by British explorer Captain James Cook in 1769 'because as such it always appeared to us.'

    Damage level: Moderate (Level 2)
     
  5. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Event: Volcano Activity
    Location: New Zealand White Island

    Situation

    Vulcanologists are continuing to keep a close eye on White Island in the Bay of Plenty. Hundreds of aftershocks continue to rattle it after a 5.4 magnitude earthquake centred just 10 kilometres off the volcano on Friday. GNS Science is warning people to stay off the island for another day or so. Vulcanologist Brad Scott says the aftershocks may have made it a bit touchy, and it is best to err on the side of caution. He says some of the aftershocks have been as strong as magnitude four, and have been felt in the Bay of Plenty region. Brad Scott says while the volcano is kicking up a bit of a fuss,.it is not yet threatening to erupt.
     
  6. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    ภูเขาไฟที่ต่างๆ ณ เดือนมิถุนายน 2008

    [​IMG]
     

    ไฟล์ที่แนบมา:

  7. YourWifeKeeper

    YourWifeKeeper สมาชิก

    วันที่สมัครสมาชิก:
    4 มิถุนายน 2008
    โพสต์:
    121
    ค่าพลัง:
    +6
  8. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    USGS to Help Chile Develop Volcano Early Warning System

    News Release
    U.S. Department of the Interior
    U.S. Geological Survey

    Release Date: June 25, 2008

    Contact: Clarice Nassif Ransom, 703-648-4299, cransom@usgs.gov

    USGS to Help Chile Develop Volcano Early Warning System

    The U.S. Geological Survey is partnering with the Chilean government to develop a volcano early warning and emergency response system for the country after the historic eruption of Chaitén Volcano on May 2.

    Following the eruption, the USGS helped Chile to install monitoring networks at Chaitén to transmit data in real time and help warn the public of further eruptions. On June 13, the USGS signed a letter of intent with President Bachelet of Chile to help the nation establish a volcano early warning system.

    “There was virtually no instrumental monitoring at Chaitén Volcano prior to the eruption,” said USGS scientist John Ewert, who noted that 5,000 residents were evacuated from areas near the volcano. “Without the monitoring, people nearby or at risk have almost no time to prepare themselves, their families or their possessions for what may be a life-altering event.”

    “The Chaitén Volcano is continuing to build a lava dome at a spectacular rate, to emit fine ash, and to produce lahars — rivers of mud and debris — that continue to flow through the town of Chaitén,” said USGS scientist Andy Lockhart, who was on the ground at Chaitén.

    Chile’s volcano early warning system will be modeled after a plan the USGS released in 2005 in the United States that systematically ranks the most dangerous volcanoes and assesses monitoring gaps at each volcano.

    The United States has a total of 169 potentially active volcanoes, half of which have some monitoring, and five volcano observatories nationwide. Chile has 120 potentially active volcanoes and one volcano observatory for the nation.

    The work in Chile was done with support from the U.S. Agency for International Development (USAID) Office of Foreign Disaster Assistance, and future work will be coordinated through the Volcano Disaster Assistance Program, a 22-year collaborative project between the Office of U.S. Foreign Disaster Assistance and the USGS.

    “Fundamentally, we build friendships with our colleagues and partners around the world and together we are better able to mitigate these potentially dangerous events,” said USGS scientist John Pallister.

    Listen to episode 52 of Corecast to hear a podcast interview with volcanologists Pallister, Ewert and Lockhart at http://www.usgs.gov/corecast/.

    USGS provides science for a changing world. For more information, visit www.usgs.gov. Subscribe to USGS News Releases via our electronic mailing list or RSS feed.
    **** www.usgs.gov ***



    USGS to Help Chile Develop Volcano Early Warning System
    ๊USGS ช่วยชิลีพัฒนาระบบเตือนภัยแผ่นดินไหว
     
  9. หนุมาน ผู้นำสาร

    หนุมาน ผู้นำสาร เป็นที่รู้จักกันดี

    วันที่สมัครสมาชิก:
    10 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    13,681
    ค่าพลัง:
    +51,931
    *** ไม่ประมาท มองหาที่สูงใกล้ตัว ****

    ระวังคลื่นยักษ์...สึนามิ ภาคใต้
    เป็นไปได้ทั้งสองฝั่ง....อันดามัน และ อ่าวไทย

    - " หนุมาน ผู้นำสาร "
     
  10. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    การเกิดระเบิดของ Super Volcano

    โดย..วิรุฬหกกลับ​

    <hr>


    เล่าขานกันสืบมาว่า ณ ดินแดนอันไกลโพ้น กว่า 4,000 ปีที่แล้วมีอาณาจักรแห่งหนึ่งที่เจริญรุ่งเรืองเป็นอย่างมาก ประชาชนพลเมืองอยู่อาศัยกันอย่างเป็นสุข อาณาจักรแห่งนั้นถูกขนานนามว่าแอนแลนติส มีศูนย์กลางอยู่บนเกาะ Crete กลางทะเลเมดิเตอร์เรเนียน

    อาณาจักรแอนแลนติสได้มีการการรวมตัวกันเป็นชนเผ่า มีความเป็นอยู่ที่ดี มีวัฒนธรรม มีอารยธรรมซึ่งถูกขนามนามว่า อารยธรรม Minoan เล่ากันสืบต่อมาว่าอาณาจักรแห่งนี้มีกิจการการค้าที่รุ่งเรืองจากการเป็นเมืองท่า มีน้ำมันมะกอกเป็นสินค้าที่สร้างรายได้ให้ชาวเมือง

    แต่แล้ววันหนึ่งดินแดนที่รุ่งเรืองถูกทำให้ล่มสลายลงด้วยธรณี พิบัติถูกถล่มล้มทับจนทำให้ความรุ่งเรืองที่เคยปรากฏต้องถูกกลืนหายไปภายใต้ ในท้องทะเลที่เงียบสงบ ตำนานเล่าว่าเหตุการณ์ในครั้งนั้นเกิดจากการที่ภูเขาไฟบนเกาะ Thera หรือรู้จักกันในชื่อ Santorini เกิดระเบิดขึ้นซึ่งเป็นการระเบิดที่รุนแรงและมันก็มากพอที่จะทำให้ท้องทะเล ปั่นป่วนเกิดเป็นสึนามิขนาดยักษ์ถาโถมเข้าใส่ฝั่งในทั่วทุกสารทิศ เกิดแผ่นดินไหวอย่างรุนแรงบนเกาะ Crete ศูนย์กลางของอารยธรรม Minoan และในที่สุดอารยธรรมที่เคยรุ่งเรืองก็ถูกกลบทับลงภายใต้ท้องมหาสมุทร ทิ้งไว้แค่ตำนานที่กล่าวขานถึงสืบต่อกันมา

    [​IMG]
    แผ่นที่เกาะ Crete และ Thera
    ภาพจาก http://www.school.net.th/

    เหตุการณ์ของการล่มสลายของอารยธรรม Minoan จะเคยมีอยู่จริงหรือไม่บ้างคนก็เชื่อบางก็คัดค้าน จนกระทั่ง Sir Arthur Evans ซึ่งในขณะนั้นยังถูกจัดให้เป็นนักโบราณคดีมือสมัครเล่นจากประเทศอังกฤษ พยายามค้นหาที่ตั้งของนครที่สาบสูญและในที่สุดเขาได้ขุดพบสถานที่ซึ่งเชื่อ ว่าเป็นพระราชวัง Knossos ของอารยธรรม Minoan บนเกาะ Crete ในทะเลเมดิเตอร์เรเนียน แต่ถึงกระนั้นก็ยังมีเสียงคัดค้านตามมาว่า พระราชวัง Knossos บนเกาะ Crete ที่ Sir Arthur Evans ค้นพบไม่เคยจมอยู่ใต้ท้องมหาสมุทร

    ถึงอย่างไรก็ตามแม้จะยังไม่ได้ข้อสรุปเกี่ยวกับอาณาจักรที่สาบสูญแต่สิ่งหนึ่งที่ตำนานและ Sir Arthur Evans เห็น ตรงกัน ไม่มีข้อโต้แย้งต่อกันนั้นก็คือนครที่สาบสูญในตำนานถูกภัยพิบัติจากธรรมชาติ ที่เกิดจากภูเขาไฟบนเกาะThera ระเบิด และพระราชวัง Knossos ที่ Sir Arthur Evans ค้นพบก็ถูกซ่อนอยู่ภายใต้เถ้าถ่านจากภูเขาไฟระเบิดเช่นกัน ดังนั้นไม่ว่าเรื่องราวในตำนานจะเป็นอย่างไร แต่ข้อสรุปที่ได้และสามารถยืนยันตรงกันว่าครั้งหนึ่งกลางทะเลเมดิเตอร์ เรเนียนเคยเกิดภูเขาไฟระเบิดที่รุนแรงมากพอที่จะจมเมืองทั้งเมืองให้กลาย เป็นอดีตได้

    จากตำนานความน่าสะพรึงกลัวของภัยภูเขาไฟระเบิดนักวิทยาศาสตร์ยังพบว่า อุทยานแห่งชาติเยลโลสโตน (Yellowstone National Park) อุทยานแห่งชาติแห่งแรกของสหรัฐอเมริกาที่ได้รับการประกาศให้เป็นอุทยานแห่ง ชาติตั้งแต่ปีค.ศ. 1872 อุทยานแห่งนี้เป็นอุทยานแห่งชาติที่ใหญ่ที่สุดในสหรัฐอเมริกา มีเนื้อที่ครอบคลุมถึงสามรัฐคือ Wyoming, Montana, and Idaho เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สำคัญของสหรัฐอเมริกา แต่ภายใต้ความยิ่งใหญ่และทัศนียภาพอันสวยงามทางธรรมชาติ ลึกลงไปประมาณ 8 กิโลเมตร(5 ไมล์) นักวิทยาศาสตร์พบว่ามีหินที่กำลังหลอมละลายและก๊าซจำนวนมหาศาล ซึ่งแน่นอนว่ามันอาจจะไม่เกิดระเบิดขึ้นหรืออาจจะเกิดระเบิดขึ้นเมื่อไหร่ก็ ได้



    [​IMG]
    อุทยานแห่งชาติเยลโลสโตน
    ภาพจาก http://www.desktopscenes.com
     
  11. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    ภูเขาไฟภายใต้อุทยานแห่งชาติเยลโลสโตน (Yellowstone National Park) เคยระเบิดมาแล้วเมื่อประมาณ 2.1 ล้านปีก่อน แรงระเบิดในครั้งนั้นถูกจัดอยู่ในระดับ 8 ซึ่งถือเป็นระดับสูงสุดตามมาตรวัดระดับความรุนแรงของการระเบิดจากภูเขาไฟที่ เรียกว่า Volcano Explosivity Index (VEI) ซึ่งถูกจัดแบ่งเป็นสเกลไว้ตั้งแต่ 0-8
    ภูเขาไฟโบราณแห่งนี้เป็นภูเขาไฟที่มีปล่องขนาดมหึมาที่ 1,500 ตาราไมล์ การระเบิดที่เคยเกิดขึ้นเมื่อ 2.1 ล้านปีที่แล้วทำให้เกิดการพ่นเถ้าถ่านจากภูเขาไฟถึง 2,500 ลูกบาศก์กิโลเมตร ซึ่งแน่นอนว่ามันทำให้โลกทั้งใบเต็มไปด้วยเถ้าถ่านจากภูเขาไฟ และนักวิทยาศาสตร์ยืนยันว่าการระเบิดในครั้งนั้นไม่ใช่การระเบิดที่เต็มที่ ด้วยประสิทธิภาพของมัน

    เราลองหลับตานึกภาพดูว่าสักวันหากภูเขาไฟภายใต้อุทยานแห่งชา ติเยลโลสโตน เกิดระเบิดขึ้นจริงๆ อาจจะทำให้รัฐสถานที่ตั้งและรัฐใกล้เคียงอีก 2-3 รัฐถูกลบหายไปจากแผ่นที่ หรือ ทวีปอเมริกาทั้งทวีปอาจจะถูกถมทับไปด้วย ฝุ่นจากเถ้าถ่านถูเขาไฟ หรือเป็นโลกทั้งโลกอาจจะถึงกาลวิบัติ ไม่อย่างใดก็อย่างหนึ่ง

    การระเบิดของ Santorini และ ภูเขาไฟโบราณภายใต้อุทยานแห่งชาติเยลโลสโตนเป็นการระเบิดครั้งที่รุนแรง ซึ่งนักวิทยาศาสตร์จัดให้เป็น Super Volcano การระเบิดของภูเขาไฟที่เรียกว่า Super Volcano จะมีความรุนแรงมากกว่าการระเบิดของภูเขาไฟธรรมดามาก ในแง่ของกระบวนการเกิด Super Volcano ก็จะแตกต่างกับการระเบิดของภูเขาไฟทั่วไปเช่นกัน ภูเขาไฟทั่วไปเกิดจากการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกที่ทำให้เกิดการดันตัว ของหินเหลวผ่านปล่องภูเขาไฟขึ้นมาแต่ Super Volcano เป็นการสะสมของหินเหลวจำนวนมหาศาลที่ซุกซ่อนตัวภายใต้พื้นดิน นักวิทยาศาสตร์เรียกจุดที่เกิดการสะสมของหินเหลวนี้ว่า Magma chamber ซึ่งมันจะดูดเอาก๊าซสะสมเอาไว้ด้วยจนวันหนึ่งที่มีปริมาณมากพอก็จะถูกดันออก มา ด้วยจำนวนหินเหลวและก๊าซที่มีรวมตัวกันนานนับพันปีนี้เองที่ทำให้เกิดแรงดัน มหาศาลและเมื่อเกิดการระเบิดขึ้นจึงทำให้เป็นการระเบิดที่รุนแรงยิ่งกว่า ภูเขาไฟธรรมดา

    [​IMG]
    ความแตกต่างของการระเบิดของภูเขาไฟธรรมดาและ Supervocano
    ภาพจาก www.vcharkarn.com


    การเกิดระเบิดของ Super Volcano ครั้งสุดท้ายเกิดขึ้นเนื่องจากการระเบิดของภูเขาไฟโทบา(Toba) ซึ่งตั้งอยู่บนตอนเหนือของเกาะสุมาตราในประเทศอินโดนีเซีย เมื่อประมาณ 75,000 ปีที่แล้ว การระเบิดในครั้งนั้นมีแรงดันมหาศาลทำให้ลาวาพุ่งไปไกลถึงภาคใต้ของประเทศ อินเดีย คิดเป็นระยะทางกว่า 3,000 กิโลเมตร ทำให้อุณหภูมิเฉลี่ยทั่วโลกลดต่ำลงกว่า 5 องศา มีการปล่อยเถ้าถ่านภูเขาไฟออกมามากถึง 2,800 ลูกบาศก์กิโลเมตรและที่สำคัญเป็นข้อสันนิษฐานของนักวิทยาศาสตร์ที่ว่า การระเบิดของภูเขาไฟโทบาทำให้โลกเข้าสู่ยุคน้ำแข็ง โทบาเป็นการระเบิดของภูเขาไฟแบบ Super Volcano และจากหลักฐานที่มีอยู่ในขณะนี้โทบา คือการระเบิดครั้งที่รุนแรงที่สุดที่เคยขึ้นมาในโลกของเรา ซึ่งเป็นการสุ่มเสี่ยงต่อการสูญพันธ์ของพืชและสัตว์ชนิดต่างๆ รวมทั้งมนุยชาติด้วย ปัจจุบันพื้นที่ของภูเขาไฟโทบาได้กลายเป็นทะเลสาบที่ถือว่าใหญ่ที่สุดและมี ความสวยงามมากที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ การเปลี่ยนแปลงจากลักษณะภูมิศาสตร์จนกลายเป็นทะเลสาบขนาดใหญ่เกิดจากการที่ หินเหลวและก๊าซที่สะสมอยู่ใน Magma chamber ถูกขับออกมาจนหมดทำให้เกิดเป็นพื้นที่ว่างขนาดใหญ่และแผ่นดินเบื้องบนจึงยุบ ตัวเข้าแทนทีพื้นที่ว่างดังกล่าวจนเกิดเป็นแอ่งทะเลขนาดใหญ่นั้นเอง



    [​IMG]
    ภาพการเกิด Magma chamber และการเปลี่ยนแปลง
    ภาพจาก www.vcharkarn.com



    ปัจจุบันพื้นที่ดั้งเดิมของภูเขาไฟโทบาได้กลายเป็นทะเลสาบโท บาประติมากรรมชิ้นเอกที่ธรรมชาติได้รังสรรค์ขึ้น ทะเลสาบโทบามี ความยาวของทะเลสาบกว่า 100 กิโลเมตร กว้างกว่า 30 กิโลเมตร และมีจุดที่ลึกที่สุดถึง 505 เมตร กลางทะเลสาบยังมีเกาะขนาดย่อมชื่อ เกาะซาโมเซอร์ และบนเกาะดังกล่าวยังมีทะเลสาบเกิดขึ้นซ้อนอยู่บนเกาะอีกที ทะเลสาบโทบาในปัจจุบันได้กลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวที่สำคัญและสร้างรายได้ ให้แก่ประเทศอินโดนีเซียเป็นจำนวนมาก(สามารถอ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับ Super volcanoes ได้ที่ http://www.vcharkarn.com/include/vcafe/showkratoo.php?pid=5730)



    [​IMG]
    ความงามของทะเลสาบโทบาผลพวงของการระเบิดครั้งใหญ่
    ภาพจาก http://lh4.ggpht.com/
     
  12. HONGTAY

    HONGTAY ผู้ดูแลเว็บบอร์ด ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    27 กุมภาพันธ์ 2007
    โพสต์:
    36,548
    กระทู้เรื่องเด่น:
    151
    ค่าพลัง:
    +147,877
    ภัยธรรมชาติที่มนุษย์อาจจะต้องประสบจนถึงขั้นที่ทำให้โลกทั้งโลกพังทลาย นั้นมีอยู่ไม่กี่อย่าง อย่างแรกคือภัยจากดาวหางหรืออุกาบาตรพุ่งชนโลก การระเบิดของรังสีแกมมา และแน่นอนภัยจากภูเขาไฟระเบิดเป็นอีกหนึ่งภัยที่มีความสามารถในกระทำลายล้าง เผ่าพันธุ์มนุษย์
    การพูดถึงตำนานของอารยธรรม Minoan หรือการซุกซ่อนตัวของภูเขาไฟอุทยานแห่งชาติเยลโลสโตนหรือการระเบิดของโทบา อาจจะดูไกลตัวไปสักหน่อยสำหรับการทำให้มองเห็นความน่าสะพรึงกลัวของภัยจาก ภูเขาไฟระเบิด แต่เมื่อประมาณ 200 ที่ผ่านมา ซึ่งตรงช่วงเวลาที่กรุงรัตนโกสินทร์ทำการสถาปนาเป็นราชธานีมาได้เพียง 33 ปี ในขณะนั้นตรงกับแผ่นดินของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยรัชกาลที่ 2 ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศเพื่อนบ้านของเราก็ต้องประสบกับภัยพิบัติจากภูเขาไฟระเบิดครั้งใหญ่ อีกครั้งเมื่อเกิดการระเบิดของภูเขาไฟแทมโบร่าขึ้น

    การ ระเบิดของภูเขาไฟแทมโบร่าเป็นการระเบิดของภูเขาไฟครั้งรุนแรงที่สุดใน ประวัติศาสตร์ยุคใหม่และแน่นอนว่ามันทำให้ความน่าสะพรึงกลัวในตำนานถูกตอก ย้ำอีกครั้ง การระเบิดของภูเขาไฟแทมโบร่าเกิดขึ้นใน วันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2358 แม้คนทั่วไปจะได้ยินกิตติศัพท์และพากันร่ำลือถึงอานุภาพของการระเบิดภูเขาไฟ กรากะตัว ในประเทศอินโดนีเซียมากกว่า แต่ภายหลังนักวิทยาศาสตร์พบว่าการระเบิดของภูเขาไฟแทมโบร่ามีความรุนแรง มากกว่าการระเบิดของภูเขาไฟกรากะตัวหลายเท่า หรือถ้าหากนำความรุนแรงในการระเบิดของภูเขาไฟแทมโบร่าเทียบกับอนุภาพของระเบิดปรมาณูอาวุธที่มีความร้ายกาจะถึงขั้นทำลายโลกแล้ว การระเบิดของภูเขาไฟแทมโบร่ามีความรุนแรงเท่ากับการระเบิดของปรมาณู 60,000 ลูกเมื่อเกิดการระเบิดพร้อมกันเลยทีเดียว และด้วยแรงระเบิดที่มหาศาลทำให้มีฝุ่นละอองที่ล่องลอยปกคลุมชั้นบรรยากาศของ โลกซึ่งมีปริมาณมากกว่าฝุ่นละอองจากการระเบิดของภูเขาไฟกรากะตัวถึง 7 เท่า นักวิทยาศาสตร์จัดแบ่งความรุนแรงของการระเบิดของภูเขาไฟเป็นระดับ จาก ไม่มีการระเบิดเลยใช้แทนความรุนแรงด้วยระดับ 0 –ระดับสูงสุดที่มีอนุภาพมากพอถึงขั้นทำลายล้างโลกใช้แทนระดับความรุนแรงด้วย 8 การระเบิดของแทมโบร่าในคราวนั้นถูกจัดว่ามีความรุนแรงอยู่ในระดับ 7 ซึ่งไม่บ่อยนักที่โลกเราต้องเผชิญกับความรุนแรงที่มากถึงขนาดนี้​



    [​IMG]
    ภูเขาไฟแทมโบร่า
    ภาพจาก www.scarborough.k12.me.us


    ภูเขาไฟแทมโบร่า ตั้งอยู่บนเกาะ Sumbawa ในประเทศอินโดนีเซีย ใกล้ๆกับเกาะ Lombok และ bali การระเบิดของแทมโบร่า ทำให้เกิดเสียงดังสนั่นหวั่นไหวไปไกลถึง 850 กิโลเมตร ต้นไม้ล้มระเนระนาดคล้ายกับโลกทั้งโลกจะพังทลายลงในพริบตา บริเวณนั้นไร้ซึ่งแสงอาทิตย์ตลอดสองวันสองคืนที่เกิดการระเบิดขึ้น หลังจากเกิดการระเบิดของภูเขาไฟแทมโบร่านักวิทยาศาสตร์พบว่า พื้นผิวโลกได้รับพลังงานจากแสงอาทิตย์น้อยลงถึง 20 เปอร์เซ็นต์เพราะ ชั้นบรรยากาศของโลกเต็มไปด้วยฝุ่นที่คละคลุ้งอยู่เต็มไปหมด อุณหภูมิอากาศของซีกโลกเหนือลดลงอย่างมาก ฝุ่นภูเขาไฟที่ลอยคละคลุ้งไปทั่วในชั้นบรรยากาศโลกต้องอาศัยเวลานานหลาย ปีกว่าจะตกลงมาสู่พื้นโลกจนหมดสิ้น

    ในภายหลังนักวิทยา ศาสตร์ยังพบอีกว่าน้ำแข็งบนเกาะกรีนแลนด์ที่ขุดลงไปเพื่อศึกษามีฝุ่นละออง จากภูเขาไฟปะปนอยู่มากมายเมื่อทำการทดสอบวัดอายุน้ำแข็งที่ห้อหุ้มเถ้าถ่าน ภูเขาไฟแล้วพบว่าฝุ่นภูเขาไฟเหล่านั้นเป็นฝุ่นละอองที่เกิดจากการระเบิดของ ภูเขาไฟแทมโบร่า ในประเทศอินโดนีเซียนั้นเอง การระเบิดที่รุนแรงของภูเขาไฟแทมโบร่าทำให้ความสูงของมันหดหายลงไปถึง 1,400 เมตร และลักษณะทางกายภาพของภูเขาไฟแทมโบร่าได้กลายเป็นหลุมกว้าง 6 กิโลเมตร ลึกลงไป 1 กิโลเมตร แน่นอนว่าการระเบิดของแทมโบร่าไม่ได้สร้างมลพิษที่เกิดขึ้นกับโลกเพียงอย่าง เดียวในวันที่เกิดเหตุระเบิดลาวาได้ไหลท่วมทับผู้คนตายบนเกาะ Sumbawa ทั้งเป็นไปกว่า 8,000 คน และทำให้คนเกือบ 100,000 ประสบกับโรคระบาดและต้องกลายเป็นคนพิการในเวลาต่อมา

    การ ระเบิดของภูเขาไฟแทมโบร่าได้ส่งผลกระทบไปยังทั่วทุกมุมโลก ในทวีปยุโรปและอเมริกาเหนือกลายเป็นช่วงแห่งการไม่มีกลางวันเป็นเวลานานนับ สัปดาห์เพราะถูกฝุ่นละอองภูเขาไฟบดบังแสงอาทิตย์ไว้ ในจีน บนเกาะ hainan ก็มีสภาพไม่แตกต่างกัน และทำให้ทวีปยุโรปและอเมริกาเหนือไม่มีฤดูร้อนในปีนั้น ในประเทศอังกฤษมีฝนตกแทบทุกวัน และแน่นอนว่าสำหรับประเทศไทยของเราที่อยู่ใกล้ๆกับอินโดนีเซียก็คงจะมืดมิด ไร้ซึ่งแสงอาทิตย์ด้วยเช่นกัน​

    [​IMG]
    แนวภูเขาไฟ
    ภาพจาก http://www.nstlearning.com

    เมื่อความเลวร้ายได้ผ่านพ้นไปมักจะทิ้งไว้เพียงแค่อดีตที่ทับ ถมอยู่ภายใต้กองซากศพและผู้คนนับแสนที่ไร้ที่อยู่อาศัย สิ่งสุดท้ายที่ภูเขาไฟแทมโบร่าให้ไว้คือความอุดมสมบูรณ์ของผืนดินที่เกิดจาก การทับถมของเถ้าภูเขาไฟบนเกาะ Sumbawa ผืนดินบริเวณนั้นยังคงเป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์มาตราบเท่าทุกวันนี้ แม้มันอาจจะไม่คุ้มค่าต่อสิ่งที่ชาวเกาะ Sumbawa ต้องสูญเสียไปแต่มันก็เป็นเพียงสิ่งเดียวที่พวกเขาเหลืออยู่หลังต้องสูญเสีย ครอบครัว สูญเสียคนที่รักและที่อยู่อาศัย

    ความน่าสะพรึงกลัวของภัยภูเขาไฟระเบิดมีมากกว่าภัยธรรมชาติชนิดอื่นเพราะ นอกจากมันจะทำให้ผู้คนล้มตายภายใต้คลื่นลาวาที่ไหลหลาก ร่างไร้ชีวิตนอนสงบนิ่งไม่ไหวติงอยู่ภายใต้เถ้าถ่านภูเขาไฟแล้วมันยังก่อให้ เกิดการเปลี่ยนแปลงทางภูมิศาสตร์และสิ่งแวดล้อมของโลกอย่างมาก ปัจจุบันพบว่าทั่วโลกยังคงมีภูเขาไฟระเบิดที่รอการประทุอยู่อีกนับพันลูก แทมโบร่าคือหนึ่งตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นความน่าสะพรึงกลัว และในไม่ช้าไม่นานมันจะกลับมาเขย่าขวัญมวลมนุษยชาติอีกครั้งขึ้นอยู่กับว่า จะเป็นที่ไหนและเมื่อไหร่


    ขอขอบคุณข้อมูลจาก
    http://www.vcharkarn.com/varticle/37495
     
  13. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <table class="tborder" id="post676693" align="center" border="0" cellpadding="6" cellspacing="0" width="100%"><tbody><tr valign="top"><td class="alt2" style="border-style: solid; border-color: rgb(255, 255, 255); border-width: 0px 1px;" width="175"> piakgear24 <script type="text/javascript"> vbmenu_register("postmenu_676693", true); </script>
    สมาชิก

    [​IMG]

    วันที่สมัคร: Dec 2006
    สถานที่: โลกมนุษย์
    อายุ: 33
    ข้อความ: 2,418
    Groans: 0
    Groaned at 2 Times in 1 Post
    ได้ให้อนุโมทนา: 588
    ได้รับอนุโมทนา 36,585 ครั้ง ใน 2,420 โพส
    พลังการให้คะแนน: 3570 [​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG][​IMG]

    </td> <td class="alt1" id="td_post_676693" style="border-right: 1px solid rgb(255, 255, 255);"><!-- message --> แผ่นดินไหว ประมาณ 4-5 ริกเตอร์ ก็ให้ระวังได้แล้วถ้าไหวแถวๆหมู่เกาะนิโคบาร์
    เพราะว่า ดร.สมิธ ท่านบอกว่า ตรงนั้นมีภูเขาดินใต้ทะเล ซึ่งอาจจะถล่มด้วยแรงแผ่นดินไหว แค่ 4-5 ริกเตอร์ ได้ ถ้าหาก ดินภูเขาถล่มก็จะเป็นซึนามิได้เหมือนกัน หรืออาจจะใหญ่กว่า การเลื่อนตัวเปลือกโลกได้
    </td></tr></tbody></table>

    [​IMG]



    [​IMG]


    [​IMG]

    อ้างอิง:
    <table border="0" cellpadding="6" cellspacing="0" width="100%"> <tbody><tr> <td class="alt2" style="border: 1px inset ;"> ข้อความดั้งเดิมโดยคุณ Catt Bewer [​IMG]
    หลายลูก ‘อยู่ติดไทย’ ‘ภัยภูเขาไฟ’ ‘ใกล้ตัว’ กว่าที่คิด !!

    [​IMG]


    ในไทยก็มีภูเขาไฟ 8 แห่ง แต่ดับสนิทหมดแล้ว มีอายุราว 7 แสนปี โดยอยู่ที่ จ.บุรีรัมย์ 6 ประกอบด้วย... ภูเขาไฟหินพนมรุ้ง ที่เขาพนมรุ้ง ต.ตาเป๊ก อ.เฉลิมพระเกียรติ, ภูเขาไฟอังคาร ที่ภูพระอังคาร ต.เจริญสุข อ.เฉลิมพระเกียรติ, ภูเขาไฟกระโดง ที่เขากระโดน ต.เสม็ด อ.เมือง, ภูเขาไฟหินหลุบ, ภูเขาไฟไบรบัด, ภูเขาไฟคอก และอยู่ที่ จ.ลำปางอีก 2 คือ ภูเขาไฟดอยผาคอกจำปาแดด และ ภูเขาไฟดอยหินคอกผาฟู

    “ภูเขาไฟที่น่าเป็นห่วงที่สุดตอนนี้ก็คือ ภูเขาไฟ Barren Island ที่อินเดีย ที่อยู่ในทะเลอันดามัน เพราะมีความเสี่ยงที่จะเกิดการปะทุมากที่สุด และถ้าเกิดขึ้นไทยก็จะได้รับผลกระทบด้วยอย่างแน่นอน ดังนั้นการเตรียมตัวรับมือไว้ก่อนจึงดีที่สุด เพราะเราไม่สามารถยับยั้งไม่ให้เกิดภัยพิบัติได้ แต่เราสามารถเรียนรู้ถึงวิธีการรับมือกับภัยพิบัติต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นได้” ...ผู้เชี่ยวชาญรายนี้กล่าว

    </td> </tr> </tbody></table>

    <table border="0" cellpadding="0" cellspacing="0" width="705"><tbody><tr> <td colspan="3" height="41" valign="top">
    [FONT=Verdana, Arial, Helvetica, sans-serif]BARREN ISLAND VOLCANO ERUPTS AGAIN[/FONT]
    </td> <td width="31">
    </td></tr> <tr> <td rowspan="2" valign="top" width="364">[FONT=Verdana, Arial, Helvetica, sans-serif]Renewed lava eruption reported from the only active volcano in Barren Island of Andaman Group of Islands in the Indian subcontinent on 28.05.2005 after a gap of 10 years.[/FONT]
    [FONT=Verdana, Arial, Helvetica, sans-serif]Introduction
    Barren island volcano along with the extinct Narcondam sub-aerial volcano, also In Andaman Islands lie on a young (less than 65 million years before present) volcanic belt. This belt dotted with about 60 active volcanoes extends from the extinct volcanoes like Mt. Popa and Mt. Wuntho of Central Myanmar to the active volcanoes of Sumatra, Java and Bali of Indonesia in southeast . Mt. Krakatoa in Sunda Strait caused the biggest and ravaging volcanic eruption in 19th Century, while Mt. Toba is known for the earth's largest volcanic eruption_during the last 1.8 million years.
    [/FONT]
    [FONT=Verdana, Arial, Helvetica, sans-serif]Location
    The Barren Island (Latitude 12.29°N, Longitude 93.85°E) is located 135 km ENE of Port Blair. Its exposed area is 10 sq km and it has a maximum elevation of 335 m above sea level. Narcondam is located 140 km NNE of Barren Island. Besides, Alcock (60 km east of Barren) and Sewell (200 km east of Car Nicobar Island) seamounts (extinct submarine volcanoes) in Andaman Sea also belong to this volcanic arc. This volcanic belt is closely associated with the subduction zone of dynamic Indian plate going under the Burmese plate along a deep fracture zone inclined at about 45° towards east.
    [/FONT]
    [FONT=Verdana, Arial, Helvetica, sans-serif]History
    Three cycles of volcanism, including the one of recent activities over the last two decades, have been recorded in Barren Island.
    [/FONT]
    [FONT=Verdana, Arial, Helvetica, sans-serif]First Cycle: Apparently Pre-historic based on circumstantial evidences
    Second Cycle: Historic, 1787-1832 with Intermittent eruption
    Third Cycle:
    Phase 1 : March - October,1991
    Phase 2 : December,1994 - May, 1995
    Phase 3 : Commenced on 28th May,2005
    [/FONT]


    [FONT=Verdana, Arial, Helvetica, sans-serif]What Geological Survey of India has done[/FONT]
    [FONT=Verdana, Arial, Helvetica, sans-serif]Geological Survey of India carried out systematic studies of this active volcano through geological mapping on (1 :25,000 scale), recording chronological account of the state of the volcano for 1st and 2nd phase of the third cycle, physical and chemical characters of the volcanic products, geothermal activity in and around the volcano, magnetic survey and bathymetric (sea floor depth measurement) survey around volcano.[/FONT]



    [​IMG]





















































    </td> <td height="516" width="14">
    </td> <td valign="top" width="296">[​IMG]

    </td> <td>
    </td></tr> <tr> <td height="128">
    </td> <td rowspan="3" valign="top">[FONT=Verdana, Arial, Helvetica, sans-serif]The Barren Island volcano is marked by a prominent cone with a main central crater that underwent change in shape, size and position from time to time in response to the phases of volcanic activities. Lava composition and depth of lava source as well as composition of parent mantle material, partial melting of which led to lava generation also showed systematic change over time. The first cycle witnessed submarine volcanic eruption of thick massive basaltic lava followed by alternating bedded lavas and agglomerate (rock fragments, resulting from explosive volcanism embedded in subordinate lava/ash) flows, with intermittent ash beds. At least 9 such eruptions with 50 cm - 5 m thick flows are recorded. Eruptions characterized by weak (Hawaiian type) and violent (Strombolian type) alternated. Both the second and third cycles are sub-aerial. The second cycle developed a 305 m high cinder cone with 60 m wide crater at cauldron center and three subsidiary vents. From the craters and vents huge volume of cinder, ash, volcanic bombs, lava fragments and debris and molten basaltic lava that solidified as scoriaceous and massive bodies, were erupted. A part of the massive lava was fissured, clinkery with ropy surfaces. The second phase of third cycle witnessed pulsative ejection activity along all the three subsidiary vents and the main crater leading to ultimate blowing off the upper part of volcanic cone.

    The crater (400 m wide and 200 m deep), connected to an underlying vertical conduit pipe became five times larger than the historic one. The eruption gradually changed from strombolian type to exceptionally violent ejective (Plinian) type. The second phase of third cycle developed two subsidiary cones on southern side of the main crater. Brown gas and white steam gushed out of crater to 800 m height. The eruption was mainly of strombolian type with occasional explosions. The lava composition of third cycle varies from basaltic to andesitic ones.
    [/FONT][FONT=Verdana, Arial, Helvetica, sans-serif]
    Mineral composition, texture, glassy component of the volcanic rocks and lava fluidity / viscosity also changed over time.

    Study of chemical parameters also confirmed the association of lava with submarine deep fracture zone related to plate tectonics. Trend of chemical change is generally normal with occasional reversal. Isotopic studies Indicate progressive shift of lava source In mantle towards greater depth with varying degrees of crustal contamination. The change of lava composition is related to varying degrees of partial melting of mantle material at about 100 km depth with subsequent lava differentiation through crystal fractionation and crustal contamination in various degrees.

    As expected average heat flow over Barren Island is also abnormally high, about 10-12 times greater than that in adjacent areas.

    Proposal of monitoring programme for the current third phase of the third cycle of Barren volcanism with multidisciplinary Input by the department has been chalked out.
    The first team is expected to leave for the Island soon.
    [/FONT]
    </td></tr></tbody></table>
     
  14. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <big>2008-07-06 03:32:33 - Volcano Eruption - USA</big>

    <code> EDIS CODE: VE-20080706-17460-USA
    Date & Time: 2008-07-06 03:32:33 [UTC]
    Area: USA, State of Hawaii, Volcano Kilauea,

    Description:

    The Hawaiian Volcano Observatory says increased amounts of lava is flowing from an outbreak that started Nov. 21 as a continuation of the volcano's 25-year eruption. Surface flows emerge near the ocean on the southeast side of the Big Island, where people can see the lava from a viewing area a few hundred feet away. A white plume rising from the Halemaumau vent near Kilauea's summit is carrying small amounts of ash and elevated levels of sulfur dioxide. The volcanic gas, known as vog, is being blown to the southwest. Health officials say the vog may agitate people with existing respiratory conditions.

    Damage level: Moderate (Level 2)</code>
     
  15. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Event: Volcano Eruption
    Location: USA State of Hawaii Volcano Kilauea

    Situation

    A volcano spewing 12m (40ft) high waves of lava has erupted in Hawaii. Mount Kilauea, on the southeastern tip of Hawaii's Big Island, exploded late on Sunday evening causing the spectacular lava waves. The blast is the second to hit Hawaii in less than four months, after the Halema'uma'u crater exploded in March. Officials in Hawaii say that the eruption isn't causing any danger to nearby residents, but that they are monitoring the situation closely.
     
  16. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Event: Volcano Eruption
    Location: Chile Patagonia Volcano Chaiten

    Situation

    Chile's National Emergency Office (Onemi) said on Thursday it extended a red alert to additional locales near the Llaima volcano, even though the intensity of the volcanic activity had decreased. Llaima, one of the most active volcanoes in South America, spewed pyroclastic rock 1,300 feet (400 metres) into night skies early Thursday morning, spooking residents a week after lava shot down one of its sides. Onemi said later in the day that 19 people were in the process of being evacuated from around the volcano's base, including six employees at the Las Araucarias ski resort. The office said it decided to evacuate the areas even though the intensity of volcanic activity decreased in the day. "It's a phenomenon that can undergo big fluctuations, so we think there is still a risk that the Calbuco and Lan Lan rivers could overflow," Onemi Director Carmen Fernandez told Reuters. Llaima, about 435 miles (700 km) south of the capital Santiago, belched fiery volcanic rocks into the sky above its crater at 3:20 a.m. (0720 GMT) and the images were caught on national television. Onemi activated emergency committees in the villages of Vilcun, Melipeuco and Curacautin as a result, also putting local police and fire departments on alert. Snow-capped Llaima, near Chile's picturesque lake region, erupted violently on New Year's Day, forcing the evacuation of some tourists and residents from the surrounding Conguillio National Park. The 10,253-foot (3,125-metre) volcano then belched ash and lava in February and saw renewed activity last week that required the evacuation of about 50 people.

    Number of Deads: 1 persons
    Number of Evacuated persons: 5000 persons
     
  17. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    <big>2008-07-13 03:35:24 - Volcano Eruption - USA</big>

    <code> EDIS CODE: VE-20080713-17553-USA
    Date & Time: 2008-07-13 03:35:24 [UTC]
    Area: USA, State of Alaska, Okmok Caldera,

    </code><fieldset style="border: 1px solid Maroon; background-color: Yellow; font-family: Verdana,Geneva,Arial,Helvetica,sans-serif; font-size: 10px; font-style: normal; font-variant: normal; font-weight: bolder; color: Red; text-align: center; text-decoration: blink; vertical-align: middle;">!!! WARNING !!!</fieldset>

    Description:

    A volcano erupted with little warning on a remote island in Alaska, sending residents of a nearby ranch fleeing from falling ash and volcanic rock. The Okmok Caldera erupted late Saturday morning, just hours after seismologists at the Alaska Volcano Centre began detecting a series of small tremors. The explosion flung an ash cloud at least 15240m high, said geophysicist Steve McNutt. Local flights were cancelled. Nine people, including three children, were at Fort Glenn, a private cattle ranch 9.6km south of the volcano on Umnak Island, located in the western Aleutians. They managed to call authorities on a satellite phone before losing their connection, according to the Coast Guard, which had a cutter en route to the island, about 1385km southwest of Anchorage. The Coast Guard cutter was not expected to arrive until Sunday morning, said Petty Officer Lee Goldsmith. Because of the falling ash and rock, the Coast Guard could not send out any aircraft, he said. Despite the conditions, the Fort Glenn residents were planning to use a small private helicopter to fly to nearby Unalaska Island, whose southwest end is separated from Fort Glenn by an eight-kilometre channel. "They can only carry one person at a time in that helicopter," Goldsmith said. Okmok is 96km west of the busy fishing port of Dutch Harbor on Unalaska Island. Ash was reported to be falling in the region, McNutt said. Two planned flights from Unalaska were cancelled due to the eruption, said Jerry Lucas, a spokesman for PenAir, the primary airliner serving the area. The 1067-metre volcano last erupted in 1997, according to McNutt. The volcano has shown signs of increased activity during the last few months, he said. Previous eruptions have typically produced lava flows, but the volcano Centre could not immediately determine if that was occurring in Saturday's explosion, McNutt said.

    Damage level: Low (Level 1)
     
  18. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    .
     
  19. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    หลายลูก ‘อยู่ติดไทย’ ‘ภัยภูเขาไฟ’ ‘ใกล้ตัว’ กว่าที่คิด !!

    ในไทยก็มีภูเขาไฟ 8 แห่ง แต่ดับสนิทหมดแล้ว มีอายุราว 7 แสนปี โดยอยู่ที่ จ.บุรีรัมย์ 6 ประกอบด้วย... <O:p</O:p
    ภูเขาไฟหินพนมรุ้ง ที่เขาพนมรุ้ง ต.ตาเป๊ก อ.เฉลิมพระเกียรติ, <O:p</O:p
    ภูเขาไฟอังคาร ที่ภูพระอังคาร ต.เจริญสุข อ.เฉลิมพระเกียรติ, <O:p</O:p
    ภูเขาไฟกระโดง ที่เขากระโดน ต.เสม็ด อ.เมือง, <O:p</O:p
    ภูเขาไฟหินหลุบ, <O:p</O:p
    ภูเขาไฟไบรบัด, <O:p</O:p
    ภูเขาไฟคอก <O:p</O:p
    และอยู่ที่ จ.ลำปางอีก 2 คือ ภูเขาไฟดอยผาคอกจำปาแดด และ ภูเขาไฟดอยหินคอกผาฟู

    “ภูเขาไฟที่น่าเป็นห่วงที่สุดตอนนี้ก็คือ ภูเขาไฟ <?xml:namespace prefix = st1 ns = "urn:schemas-microsoft-com[​IMG]Barren</st1:placeName> <st1:placeType w:st="on">Island</st1:placeType></ST1:place ที่อินเดีย ที่อยู่ในทะเลอันดามัน เพราะมีความเสี่ยงที่จะเกิดการปะทุมากที่สุด และถ้าเกิดขึ้นไทยก็จะได้รับผลกระทบด้วยอย่างแน่นอน ดังนั้นการเตรียมตัวรับมือไว้ก่อนจึงดีที่สุด เพราะเราไม่สามารถยับยั้งไม่ให้เกิดภัยพิบัติได้ แต่เราสามารถเรียนรู้ถึงวิธีการรับมือกับภัยพิบัติต่าง ๆ ที่จะเกิดขึ้นได้” ...ผู้เชี่ยวชาญรายนี้กล่าว<O:p</O:p
     
  20. Falkman

    Falkman พลังจิตนานาชาติ ทีมงาน ผู้ดูแลเว็บบอร์ด

    วันที่สมัครสมาชิก:
    3 กรกฎาคม 2006
    โพสต์:
    19,726
    ค่าพลัง:
    +77,791
    Event: Volcano Eruption
    Location: USA State of Alaska Kasatochi Island / Aleutian Islands
    Situation

    Two U.S. Fish & Wildlife biologists were rescued from volcanic Kasatochi Island in the Aleutians today shortly before an eruption sent an ash plume 35,000 feet in the air. The biologists, who were studying birds, have not been identified, but seismologists said they narrowly escaped burning flows of gas, steam and ash that probably enveloped the mile-wide island. "If they had been there, they certainly could have died," said Stephanie Prejean, seismologist with U.S. Geological Survey's Alaska Volcano Observatory. Kasatochi is the third Aleutian volcano currently rumbling. Okmok began erupting July 12. Mount Cleveland erupted on July 21. The biologists were due to be taken from the island Wednesday, but a helicopter that was going to pick them up had mechanical problems, and a Fish & Wildlife boat was too far away. A call to fishermen in the area didn't immediately drum up a response. Early this afternoon, someone from Adak was able to reach them. As they waited, the shaking on the island grew increasingly intense, and they began to smell sulfur gas, a sign of an impending eruption, Prejean said. The biologists called for help yesterday. "Things were really nip and tuck this morning. The island went into 20 minutes of shaking," said Poppy Benson of the Alaska Maritime National Wildlife Refuge in Homer Kasatochi's plume is causing an air travel advisory and will dump ash on the neighboring community of Adak, Prejean said. Scientists have not been monitoring the volcano, and there's no record of when it last erupted, she said.

    Number of Evacuated persons: 2 persons
     

แชร์หน้านี้

Loading...